องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาการเรียนรู้ของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ คือ
- สร้างองค์ความรู้จากการวิจัยที่มีมาตรฐานเป็นเลิศ
- สร้างนักวิจัยและนักวิชาการด้านพฤติกรรมศาสตร์ที่มีความสามารถสูงและมีคุณธรรม
- พัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลและสังคม
- สืบสานและสร้างเสริมศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยที่ดีงาม
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มีการบริหารกิจการวิชาการ ตามยุทธศาสตร์ดังกล่าวข้างต้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องการสร้างนักวิจัยและนักวิชาการด้านพฤติกรรมศาสตร์ ที่ให้ผู้เรียนมีความรู้ในวิชาชีพตามหลักสูตรที่กำหนด และใช้หลักการของการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยใช้เทคนิคการสอนและอุปกรณ์การสอนที่หลากหลาย มีการประเมินผลการเรียนการสอนตามสภาพจริง และมีการใช้ประโยชน์จากผลการประเมินในการพัฒนาผู้เรียน มีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรทุกหลักสูตร ตลอดจนคณะกรรมการบริหารวิชาการของสถาบัน เป็นกลไกหลักในกระบวนการพัฒนาและบริหารหลักสูตร ให้มีความทันสมัย ยืดหยุ่นและสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและสังคม
นอกจากนี้ยังมีการระดมทรัพยากรทั้งด้านบุคลากร งบประมาณ อาคารสถานที่ และสิ่งอำนวยความสะดวก รวมทั้งความร่วมมือจากแหล่งต่างๆ ทั้งภายในและภายนอกสถาบันอุดมศึกษา ในการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร และกิจกรรมการศึกษา เพื่อให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพสูงสุด
[2.1 มีระบบและกลไกในการพัฒนาและบริหารหลักสูตร]
[2.1.1 ร้อยละของหลักสูตรที่ได้มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด]
[2.2 มีกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ]
[2.2.1 ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพการสอนของอาจารย์และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้]
[2.3 มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนซึ่งบุคคล องค์กรและชุมชนภายนอกมีส่วนร่วม]
[2.4 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ]
[2.5 สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก หรือเทียบเท่าต่ออาจารย์ประจำ]
[2.6 สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่ง อาจารย์ ผศ. รศ. และ ศ.]
[2.7 มีกระบวนการส่งเสริมการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย์]
[2.8 มีระบบและกลไกสนับสนุนให้อาจารย์ประจำทำการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน]
[2.8.1 ร้อยละของผลงานวิชาการต่ออาจารย์ประจำ]
[2.9 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาโทและเอกที่ได้งานทำและประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี]
[2.9.1 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาโท-เอกที่ได้ทำงานตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา]
[2.10 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาโทและปริญญาเอกที่ได้รับเงินเดือนเริ่มต้นเป็นไปตามเกณฑ์]
[2.11 ระดับความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้บัณฑิต]
[2.12 ร้อยละของนักศึกษาปัจจุบันและศิษย์เก่าที่สำเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปีที่ผ่านมาที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณยกย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรม และด้านสิ่งแวดล้อม ในระดับชาติหรือนานาชาติ]
[2.13 ร้อยละของอาจารย์ประจำซึ่งมีคุณสมบัติเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่ทำหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์]
[2.13.1 จำนวนวิทยานิพนธ์และงานวิชาการของนักศึกษาที่ได้รับรางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา]
[2.13.2 ร้อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาโทที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ต่อจำนวนปริญญานิพนธ์ปริญญาโททั้งหมด]
[2.13.3 ร้อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ต่อจำนวนปริญญานิพนธ์ปริญญาโททั้งหมด]
|