ตัวบ่งชี้ที่ :
2.11
ระดับความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้บัณฑิต
ชนิดของตัวบ่งชี้ :
ผลผลิต
ระดับตัวบ่งชี้ :
/ มหาวิทยาลัย
/สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
แหล่งข้อมูลระดับมหาวิทยาลัย :
กองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี
แหล่งข้อมูลระดับคณะ/สถาบัน :
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ (ผู้เก็บข้อมูล : วนิดา ธรรมเกษร)
ข้อมูลประกอบ : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ ได้จากการสำรวจระดับความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการ ผู้ใช้บัณฑิต ในหลัก 3 ด้านที่สอดคล้องกับพระราชบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ.2542 โดย ระดับความพึงพอใจในการสำรวจใช้คะแนน 5 ระดับ ผลปรากฎว่าผู้ใช้บัณฑิต ตอบกลับมาจำนวน 35 ราย (จากบัณฑิตที่มีงานทำทั้งหมด 45 ราย) มีความพึงพอใจ บัณฑิต ทั้ง 3 ด้าน ดังนี้ 1. ความรู้ความสามารถทางวิชาการ อยู่ในระดับ มาก ( x = 4.1111) 2. ความรู้ความสามารถพื้นฐานที่ส่งผลต่อการทำงาน ( x = 4.4916) 3. คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ (x = 4.6400)
ผลการดำเนินงาน :
หน่วยนับ
2549
2550
ความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้บัณฑิต
ค่าเฉลี่ย
4.6
4.4
เป้าหมายปีการศึกษา 2550
>3.5
คะแนนมาตรฐาน(เต็ม 3 คะแนน)
คะแนน
3
การพัฒนาการ(มี = 1,ไม่มี = 0)
1
การบรรลุเป้าหมาย(บรรลุ= 1,ไม่บรรลุ=0)
สรุปคะแนนรวม(เต็ม 5 คะแนน)
5
เกณฑ์การประเมิน :
คะแนน 1
คะแนน 2
คะแนน 3
ระดับความพึงพอใจมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 1 -2.49
ระดับความพึงพอใจมีคะแนนเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 2.50 3.49
ระดับความพึงพอใจมีคะแนนเฉลี่ยมากกว่าหรือเท่ากับ 3.50
สรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย :
การประเมินอิงพัฒนา : -
ข้อมูลอ้างอิง :
รายการข้อมูล
50-0211-01
สรุปผลสำรวจความพึงพอใจของนายจ้างหรือผู้ใช้บัณฑิต ที่มีต่อบัณฑิตสาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์
50-0211-02
แบบสำรวจความพึงพอใจของนายจ้างหรือผู้ใช้บัณฑิต ที่มีต่อบัณฑิตสาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์