ตัวบ่งชี้ที่ : |
2.13. |
ร้อยละของอาจารย์ประจำซึ่งมีคุณสมบัติเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่ทำหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ |
ชนิดของตัวบ่งชี้ : |
ปัจจัยนำเข้า |
ระดับตัวบ่งชี้ : |
/ มหาวิทยาลัย |
/สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ |
แหล่งข้อมูลระดับมหาวิทยาลัย : |
บัณฑิตวิทยาลัย และกองบริการวิชาการ |
แหล่งข้อมูลระดับคณะ/สถาบัน : |
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ (ผู้เก็บข้อมูล : วนิดา ธรรมเกษร) |
ข้อมูลประกอบ :
หน้าที่สำคัญประการหนึ่งของอาจารย์ในมหาวิทยาลัยที่เน้นการวิจัย คือ การฝึกนักวิจัยภายใต้การจัดการศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอก โดยทำหน้าที่ควบคุมวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาที่เข้ามาเป็นส่วนหนึ่งทีมวิจัยของคณาจารย์ ตัวบ่งชี้นี้แสดงถึงการมีส่วนร่วมในงานวิจัยของอาจารย์ประจำ ยังแสดงถึงการบูรณาการการเรียนการสอนกับงานวิจัยซึ่งเป็นวิธีการฝึกฝนนักวิจัยรุ่นใหม่อย่างมีประสิทธิภาพวิธีหนึ่ง อาจารย์ประจำของสถาบันฯ มีคุณสมบัติครบ
ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาที่ทำหน้าที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ในหลักสูตรของสถาบันฯ
ผลการดำเนินงาน :
ข้อมูลประกอบตัวบ่งชี้ |
หน่วยนับ |
2549 |
2550 |
1. จำนวนอาจารย์ประจำที่มีคุณสมบัติเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาตามประกาศ กระทรวงศึกษารวมทุกหลักสูตร โดยนับเฉพาะอาจารย์ที่ปฏิบัติงานจริง กับ จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรบัณฑิตศึกษาที่มีคุณสมบัติเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ตามเกณฑ์มาตรฐาน หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาที่ทำหน้าที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ใน หลักสูตรของสถาบันฯ |
คน |
- |
12.5 |
2.จำนวนอาจารย์ที่ปฏิบัติหน้าที่เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์จริง |
คน |
- |
10 |
3. ร้อยละอาจารย์ประจำที่มีคุณสมบัติเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิต ศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษารวมทุกหลักสูตร โดยนับเฉพาะอาจารย์ที่ปฏิบัติงานจริง กับ จำนวนอาจารย์ประจำหลักสูตรบัณฑิตศึกษาที่มีคุณสมบัติเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ บัณฑิตศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาที่ทำหน้าที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ในหลักสูตรของสถาบันฯ |
ร้อยละ |
- |
80 |
เป้าหมายปีการศึกษา 2550 |
ร้อยละ |
90 |
คะแนนมาตรฐาน( 3 คะแนน) |
คะแนน |
2 |
การพัฒนาการ(มี = 1,ไม่มี = 0) |
คะแนน |
0.67 |
การบรรลุเป้าหมาย(บรรลุ= 1,ไม่บรรลุ=0) |
คะแนน |
0 |
สรุปคะแนนรวม(เต็ม 5 คะแนน) |
คะแนน |
2.67 |
เกณฑ์การประเมิน : |
คะแนน 1 |
คะแนน 2 |
คะแนน 3 |
ร้อยละ 50 ร้อยละ 69 |
ร้อยละ 70 ร้อยละ 89 |
มากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 90 |
สรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย :
- ระดับสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ : ไม่บรรลุเป้าหมาย (ตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย)
การประเมินอิงพัฒนา :
- ตัวบ่งชี้ที่ 2.13 เป็นตัวบ่งชี้ที่ยังไม่เคยมีมาก่อน ค่าคะแนนการพัฒนาการจึงใช้ตามการปรับค่าคะแนน
ตัวบ่งชี้ที่ยังไม่เคยมีมาก่อน ดังนี้ คะแนนที่ประเมินได้ จากคะแนนมาตรฐาน
บวกกับคะแนนบรรลุเป้าหมาย รวมเป็น 4 คะแนน บวกคะแนนปรับเพิ่มตามตาราง
การปรับค่าคะแนนตัวบ่งชี้ที่ยังไม่เคยมีมาก่อน อีก 1 คะแนน รวมเป็น 5 คะแนน
ข้อมูลอ้างอิง :
รหัสเอกสาร |
รายการข้อมูล |
50-0213-01 |
รายชื่ออาจารย์ (ในภาคเรียนที่ 3/2550)ของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ที่ปฏิบัติหน้าที่ที่ปรึกษาปริญญานิพนธ์ |
50-0213-02 |
งานวิจัยที่นิสิตของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์มีส่วนร่วมดำเนินการวิจัย |
|