วิธีทำงานวิจัยที่มีคุณภาพ ได้รับรางวัลระดับชาติ
 

 

ตัวบ่งชี้ที่ :

2.8

มีระบบและกลไกสนับสนุนให้อาจารย์ประจำทำการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

ชนิดของตัวบ่งชี้ :

กระบวนการ

ระดับตัวบ่งชี้ :

/ มหาวิทยาลัย

/ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์

แหล่งข้อมูลระดับมหาวิทยาลัย :

ฝ่ายวิจัย สำนักงานอธิการบดี

แหล่งข้อมูลระดับคณะ/สถาบัน :

สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์        (ผู้เก็บข้อมูล :  วนิดา ธรรมเกษร)

   ข้อมูลประกอบ :
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์   มีนโยบายที่ชัดเจน ที่แจ้งในที่ประชุมคณาจารย์และข้าราชการ (staff) อยู่เป็นระยะๆ  ในการสนับสนุนและส่งเสริมให้อาจารย์มีการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนอยู่ ตลอดเวลา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติตามหลักสูตรที่กำหนดมีการจัดการเรียนการสอนที่สนองความต้องการจำเป็นของผู้เรียน จะส่งผลให้เกิดนวัตกรรมการเรียนการสอนที่มีคุณค่า นวัตกรรมเหล่านี้อาจเป็นเทคนิคการสอน ใหม่ ๆ แบบฝึก สื่ออุปกรณ์ หรือเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาใหม่ ๆ ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการเรียน การสอน 

ผลการดำเนินงาน :


ข้อมูลประกอบตัวบ่งชี้

หน่วยนับ

2549

2550

  • มีการกำหนดแนวทางการพัฒนาอาจารย์ด้านความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน

ข้อ

-

/

2.   มีกลไกการบริหารวิชาการที่จะกระตุ้นให้อาจารย์คิดค้นพัฒนานวัตกรรมใหม่ๆ ในด้านการเรียนการสอน

ข้อ

-

/

3.    มีแหล่งทุนสนับสนุนการวิจัย เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการศึกษา

ข้อ

-

/

4.   มีผลงานวิจัยด้านการเรียนการสอนและมีการจัดเวทีแลกเปลี่ยนและเผยแพร่ ผลงานวิจัยด้านการเรียนการสอนและนวัตกรรมทางการ ศึกษาอย่างสม่ำเสมอ

ข้อ

-

-

5.   มีการสร้างเครือข่ายวิจัยด้านนวัตกรรมการเรียนการสอนทั้งภายในและ ภายนอกสถาบัน

ข้อ

-

-

 

 

 

 

เป้าหมายปีการศึกษา 2550

ข้อ

3

คะแนนมาตรฐาน(เต็ม 3 คะแนน)

คะแนน

2

การพัฒนาการ(มี = 1,ไม่มี = 0)

คะแนน

0.67

การบรรลุเป้าหมาย(บรรลุ= 1,ไม่บรรลุ=0)

คะแนน

1

สรุปคะแนนรวม(เต็ม 5 คะแนน)

คะแนน

3.67

 

เกณฑ์การประเมิน :

คะแนน 1

คะแนน 2 ( พอใช้ )

คะแนน 3 ( ดี )

มีการดำเนินการไม่ครบ 3 ข้อ

มีการดำเนินการ 3-4 ข้อ

มีการดำเนินการครบทุกข้อ

สรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย :

  • ระดับสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์   :    บรรลุเป้าหมายตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย

การประเมินอิงพัฒนา :

  • ตัวบ่งชี้ที่   2.8  เป็นตัวบ่งชี้ที่ยังไม่เคยมีมาก่อน  ค่าคะแนนการพัฒนาการจึงใช้ตามการปรับค่าคะแนน

                                                ตัวบ่งชี้ที่ยังไม่เคยมีมาก่อน  ดังนี้   คะแนนที่ประเมินได้  จากคะแนนมาตรฐาน
บวกกับคะแนนบรรลุเป้าหมาย  รวมเป็น  4  คะแนน บวกคะแนนปรับเพิ่มตามตาราง
การปรับค่าคะแนนตัวบ่งชี้ที่ยังไม่เคยมีมาก่อน อีก 1  คะแนน  รวมเป็น  5  คะแนน

ข้อมูลอ้างอิง  :     


รหัสเอกสาร

รายการข้อมูล

50-0280-01

รายงานการประชุมข้าราชการและบุคลากรสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์

50-0280-02

รายงานการประชุมคณะกรรมการประจำสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์

50-0280-03

รายงานการประชุมคณะกรรมการวิชาการสถาบันวิจัย พฤติกรรมศาสตร์