วิธีทำงานวิจัยที่มีคุณภาพ ได้รับรางวัลระดับชาติ
 

 

ตัวบ่งชี้ที่ :

2.3

มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนซึ่งบุคคล องค์กรและชุมชนภายนอกมีส่วนร่วม

ชนิดของตัวบ่งชี้ :

กระบวนการ

ระดับตัวบ่งชี้ :

/ มหาวิทยาลัย

/ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์

แหล่งข้อมูลระดับมหาวิทยาลัย :

กองบริการการศึกษา สำนักงานอธิการบดี

แหล่งข้อมูลระดับคณะ/สถาบัน :

สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์          (ผู้เก็บข้อมูล :  วนิดา ธรรมเกษร)

ข้อมูลประกอบ :
ในการปรับปรุงหลักสูตรสาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ ของสถาบันฯ  ได้มีการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกมาช่วยในพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร  ตลอดจนมีการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่นำไปใช้ในการปฏิบัติได้จริงโดยผู้รู้ในชุมชนมีส่วนร่วม  เช่น  วป 703  การวิจัยเชิงคุณภาพ   วป  884สัมมนาสังคมศาสตร์เชิงพฤติกรรม  เป็นต้น
ผลการดำเนินงาน :


ข้อมูลประกอบตัวบ่งชี้

หน่วยนับ

2549

2550

1. มีระบบและกลไกที่กำหนดให้ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้รู้ในชุมชนมาช่วยในการ 
พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรทุกหลักสูตร

ข้อ

-

/

2. มีการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่นำไปใช้ในการปฏิบัติจริงโดยผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้รู้ในชุมชนมีส่วนร่วมทุกหลักสูตร

ข้อ

-

/

3. มีการจัดโครงการ/กิจกรรมทางการศึกษาทั้งที่กำหนดและไม่กำหนดใน
หลักสูตรโดยความร่วมมือจากภายนอกทุกหลักสูตร

ข้อ

-

/

4.  มีการติดตามตรวจสอบและประเมินกิจกรรมการเรียนการสอนที่ได้รับการ
สนับสนุนจากผู้ทรงคุณวุฒิหรือชุมชนภายนอกสถาบันทุกหลักสูตร

ข้อ

-

/

5.  มีการนำผลการประเมินไปปรับปรุงการมีส่วนร่วมของบุคคล องค์กรและชุมชนภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนทุกหลักสูตร

ข้อ

-

-

 

 

 

 

เป้าหมายปีการศึกษา 2550

ข้อ

4

คะแนนมาตรฐาน (เต็ม 3 คะแนน)

คะแนน

2

การพัฒนาการ (มี = 1,ไม่มี = 0)

คะแนน

0.67

การบรรลุเป้าหมาย(บรรลุ= 1,ไม่บรรลุ=0)

คะแนน

1

สรุปคะแนนรวม(เต็ม 5 คะแนน)

คะแนน

3.67

เกณฑ์การประเมิน :

คะแนน 1

คะแนน 2

คะแนน 3

มีการดำเนินการไม่ครบ 4 ข้อแรก

มีการดำเนินการ 4 ข้อแรก

มีการดำเนินการครบทุกข้อ

สรุปผลการดำเนินงานตามเป้าหมาย :

  •  ระดับสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์  :   บรรลุเป้าหมายตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย

การประเมินอิงพัฒนา :

  • ตัวบ่งชี้ที่   2.3  เป็นตัวบ่งชี้ที่ยังไม่เคยมีมาก่อน  ค่าคะแนนการพัฒนาการจึงใช้ตามการปรับค่าคะแนน

                                                ตัวบ่งชี้ที่ยังไม่เคยมีมาก่อน  ดังนี้   คะแนนที่ประเมินได้  จากคะแนนมาตรฐาน
บวกกับคะแนนบรรลุเป้าหมาย  รวมเป็น  4  คะแนน บวกคะแนนปรับเพิ่มตามตาราง
การปรับค่าคะแนนตัวบ่งชี้ที่ยังไม่เคยมีมาก่อน อีก 1  คะแนน  รวมเป็น  5  คะแนน

ข้อมูลอ้างอิง :


รหัสเอกสาร

รายการข้อมูล

50-0230-01

โครงการ/กิจกรรมประกอบรายวิชาที่เปิดสอน ในปีการศึกษา 2550
ที่มีการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน

50-0230-02

หนังสือเชิญผู้ทรงคุณวุฒิ / วิทยากร มาสอนในรายวิชาที่เปิดสอน ในปีการศึกษา 2550