วิธีทำงานวิจัยที่มีคุณภาพ ได้รับรางวัลระดับชาติ
 

 

สรุปผลการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

[ สรุปผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพ ]

บทนำ
                   สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ได้เริ่มเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโทวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์
ต่อมาได้ปรับปรุงหลักสูตรนี้ให้เป็นหลักสูตรต่อเนื่องจนถึงระดับปริญญาเอกในสาขาเดียวกัน  
โดยได้รับอนุมัติจากทบวงมหาวิทยาลัยให้ใช้หลักสูตรได้เมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 2536   และเปิดรับนิสิตในหลักสูตรต่อเนื่อง  ตั้งแต่ปีการศึกษา  2537 
นอกจากนั้นได้เปิดสอนหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต  ภาคพิเศษ  สาขาเดียวกันในปีการศึกษา 2542  ต่อมามีการพัฒนาหลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต  ให้เป็นหลักสูตร แบบ 1
(เน้นวิจัย) สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์   ซึ่งได้รับอนุมัติจากสภามหาวิทยาลัย  เมื่อวันที่  13  มีนาคม  2545  ได้เปิดรับนักศึกษารุ่นแรกในปีการศึกษา 2545   และในปี  2545  นั้นเองก็มีการดำเนินการปรับปรุงหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตและวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ โดยจัดทำเป็นหลักสูตรปรับปรุง ประจำปี 2545  เสนอให้ทบวงมหาวิทยาลัย (ในขณะนั้น) พิจารณารับรองหลักสูตรดังกล่าว  ทบวงมหาวิทยาลัยได้ให้ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปรับปรุง หลักสูตรให้ประมวลเป็นหลักสูตรเดียวกันแต่มีหลายแบบ  คือ มหาบัณฑิต ภาคปกติ มหาบัณฑิต ภาคพิเศษ  ดุษฎีบัณฑิต  แบบ 1 และดุษฎีบัณฑิต  แบบ 2   ภายหลังการปรับปรุง ได้ให้การรับรองหลักสูตรฯ เมื่อวันที่  5  กุมภาพันธ์  2547 

วิสัยทัศน์                                                                                                                                                                
“สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์   เป็นองค์กรที่มีความเป็นเลิศในการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์  ในระดับสากล  มีเป้าหมายที่จะสร้างองค์ความรู้  และประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนไทย และผลิตนักวิจัยที่มีความสามารถในการมองปัญหาได้หลายแง่มุม มีคุณธรรมและใฝ่รู้  พร้อมทั้งให้ความรู้ บริการ และเสนอแนะแนวทางป้องกันและแก้ปัญหาสังคม ตลอดจนร่วมมือกับองค์กรอื่น ๆ   ทั้งในประเทศและต่างประเทศ  เพื่อพัฒนาวิชาการโดยใช้ระบบการทำงานเป็นคณะ มีการกระจายอำนาจ  และส่งเสริมขวัญกำลังใจของบุคลากร”

ปรัชญา

                “พัฒนาความรู้  คู่คุณธรรม   นำสู่คุณภาพชีวิต”

ปณิธาน

                        “สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์มุ่งทำวิจัย และผลิตบัณฑิตเพื่อนำไปสู่คุณภาพชีวิตของคนไทย”

วัตถุประสงค์                                                                  

  • วิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ทางพฤติกรรมศาสตร์ และพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคคลและสังคม
  • ผลิตบัณฑิตที่มีความสามารถทางการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์และมีจรรยาบรรณ
  • เสริมสร้างบรรยากาศของการวิจัย และกระตุ้นให้มีการร่วมมือในการทำวิจัยที่เป็น

สหวิทยาการ

  • เผยแพร่ความรู้ทางวิชาการ และฝึกอบรมการวิจัยทางด้านพฤติกรรมศาสตร์

 

วิธีการประเมิน
วัตถุประสงค์ในการประเมิน

  • ตรวจสอบและประเมินการดำเนินงานของหน่วยงานตามระบบและกลไกที่หน่วยงานนั้น ๆ กำหนดขึ้น ทั้งนี้โดยการวิเคราะห์ / เปรียบเทียบผลการดำเนินงานตามตัวบ่งชี้ในทุกองค์ประกอบคุณภาพ ว่าเป็นไปตามเกณฑ์และได้มาตรฐานที่กำหนดไว้
  • ให้หน่วยงานทราบสถานภาพของตนเอง อันจะนำไปสู่การกำหนดแนวทางในการพัฒนาคุณภาพไปสู่เกณฑ์และมาตรฐานที่ตั้งไว้
  • ให้หน่วยงานทราบจุดแข็ง จุดที่ควรปรับปรุง ตลอดจนได้รับข้อเสนอแนะในการพัฒนาการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมจุดแข็ง และพัฒนาจุดที่ควรปรับปรุงของหน่วยงาน เพื่อการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

การวางแผนการประเมิน

  • การเตรียมการและวางแผนก่อนการตรวจเยี่ยม
  • ศึกษา SAR วิเคราะห์ดัชนีบ่งชี้ และองค์ประกอบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ รวบรวมหลักฐานข้อมูลเพิ่มเติมโดย
  • สังเกตจากสภาพจริงด้วยการเยี่ยมชม
  • ห้องเรียน
  • สัมภาษณ์ และจดบันทึก
  • ผู้บริหาร
  • อาจารย์
  • บุคลากรและเจ้าหน้าที่ในหน่วยงาน
  • นิสิตปริญญาเอก
  • ศึกษาจากเอกสารอ้างอิงตามตัวบ่งชี้ต่าง ๆ ที่สถาบันจัดไว้

วิธีการตรวจสอบความถูกต้องน่าเชื่อถือของข้อมูล
สืบค้นข้อมูลจากอินเตอร์เน็ตและตรวจสอบจากฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาและการบริหาร FIS

               

ผลการประเมินรายตัวบ่งชี้


องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้
(9 องค์ประกอบ 62 ตัวบ่งชี้)

เป้า
หมาย 2550

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

อิง มาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุ เป้าหมาย

รวม

อิง มาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุ เป้าหมาย

รวม

องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดำเนินการ

1.1

มีการกำหนดปรัชญา หรือปณิธาน ตลอดจนมีกระบวนการพัฒนากลยุทธ์แผน ดำเนินงานและมีการกำหนด ตัวบ่งชี้เพื่อวัดความสำเร็จของการดำเนินงาน ตามแผนให้ครบทุกภารกิจ

5

2

0.67

1

3.67

2

0.67

1

3.67

1.2

ร้อยละของการบรรลุเป้าหมายตาม ตัวบ่งชี้ของการปฏิบัติงานที่กำหนด

90

3

1

1

5

3

1

1

5

องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน

2.1

มีระบบและกลไกในการพัฒนาและบริหารหลักสูตร

100

3

1

1

5

3

1

1

5

2.1.1

ร้อยละของหลักสูตรที่ได้มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด

100

3

1

1

5

3

1

1

5

2.2

มีกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

100

3

1

1

5

3

1

1

5

2.2.1

ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อคุณภาพ การสอนของอาจารย์และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

มาก

3

1

1

5

3

1

1

5

2.3

มีโครงการหรือกิจกรรมที่สนับสนุนการ พัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนซึ่งบุคคล องค์กร และชุมชนภายนอกมีส่วนร่วม

4

2

0.67

3.67

5

2

0.67

1

3.67

2.4

จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

1:10

1

0

1

2

1

0

1

2

 

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้
(9 องค์ประกอบ 62 ตัวบ่งชี้)

เป้า
หมาย 2550

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

อิง มาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุ เป้าหมาย

รวม

อิง มาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุ เป้าหมาย

รวม

2.5

สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอกหรือเทียบเท่าต่ออาจารย์ประจำ

73.3

3

1

1

5

3

1

1

5

2.6

สัดส่วนของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และศาสตราจารย์

60

1

0

0

1

1

0

0

1

2.7

มีกระบวนการส่งเสริมการปฏิบัติตาม จรรยาบรรณวิชาชีพของคณาจารย์

4

2

1

0

3

2

1

0

3

2.8

มีระบบและกลไกสนับสนุนให้อาจารย์ประจำ ทำการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน

3

1

0

0

1

2

0.67

1

3.67

2.8.1

ร้อยละของผลงานวิชาการต่ออาจารย์ประจำ

รายงานผล

2.9

ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาโท-เอกที่ได้งานทำและประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

100

3

1

1

5

2.9.1

ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาโท -เอกที่ได้ทำงานตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา

100

3

1

1

5

2.10

ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาโท-เอกที่ได้รับเงินเดือนเริ่มต้นเป็นไปตามเกณฑ์

100

2

1

1

4

2.11

ระดับความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการ และผู้ใช้บัณฑิต

3

1

1

5

3

1

1

5

 

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้
(9 องค์ประกอบ 62 ตัวบ่งชี้)

เป้า
หมาย 2550

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

อิง มาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุ เป้าหมาย

รวม

อิง มาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุ เป้าหมาย

รวม

2.12

ร้อยละของนักศึกษาปัจจุบันและศิษย์เก่า ที่สำเร็จการศึกษาในรอบ 5 ปีที่ผ่านมาที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณ ยกย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม กีฬา สุขภาพ ศิลปะและวัฒนธรรมและด้านสิ่งแวดล้อม ในระดับชาติหรือนานาชาติ

2

3

1

1

5

3

1

1

5

2.13

ร้อยละของอาจารย์ประจำซึ่งมีคุณสมบัติเ ป็นที่ปรึกษา วิทยานิพนธ์ที่ทำหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

90

2

0.67

0

2.67

2

0.67

0

2.67

2.13.1

จำนวนวิทยานิพนธ์และงานวิชาการของ นักศึกษาที่ได้รับ รางวัลในระดับชาติหรือระดับนานาชาติภายในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา

2

1

0

1

2

1

0

1

2

2.13.2

ร้อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ ปริญญาโทที่ตีพิมพ์เผย แพร่ต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาโททั้งหมด

50

1

0

0

1

1

0

0

1

2.13.3

ร้อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ ปริญญาเอกที่ตีพิมพ์เผย แพร่ต่อจำนวนวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกทั้งหมด

100

3

1

1

5

3

1

1

5

 

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้
(9 องค์ประกอบ 62 ตัวบ่งชี้)

เป้า
หมาย 2550

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

อิงมาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุเป้าหมาย

รวม

อิงมาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุ เป้าหมาย

รวม

องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา

3.1

มีการจัดบริการแก่นักศึกษาและศิษย์เก่า

6

1

0.33

0

1.33

1

0.33

0

1.33

3.2

มีการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษาที่ครบถ้วนและ สอดคล้องกับคุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์

4

1

0.33

0

1.33

1

0.33

0

1.33

องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย

4.1

มีการพัฒนาระบบและกลไกในการสนับสนุนการ ผลิตงานวิจัยและงานสร้างสรรค์

5

3

1

1

5

3

1

1

5

4.2

มีระบบบริหารจัดการความรู้จาก งานวิจัยและงานสร้างสรรค์

3

3

1

1

5

3

1

1

5

4.3

เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์จาก ภายในและภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

60,000

3

1

1

5

3

1

1

5

4.3.1

เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์จาก ภายในสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

70,588

3

1

1

5

3

1

1

5

4.3.2

เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์จาก ภายนอกสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

323,529

3

1

1

5

3

1

1

5

4.3.3

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัย หรืองานสร้างสรรค์จากภายใน สถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

100

3

1

1

5

3

1

1

5

4.3.4

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัย หรืองานสร้างสรรค์จากภายนอก สถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

71

3

1

1

5

3

1

1

5

 

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้
(9 องค์ประกอบ 62 ตัวบ่งชี้)

เป้า
หมาย 2550

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

อิงมาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุเป้าหมาย

รวม

อิงมาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุเป้าหมาย

รวม

4.4

ร้อยละของงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาหรืออนุสิทธิบัตร หรือนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในระดับชาติ และในระดับนานาชาติต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

1

3

1

1

5

3

1

1

5

4.5

ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือ ระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ

1

1

1

1

3

1

1

1

3

องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม

5.1

มีระบบและกลไกในการบริการทางวิชาการ แก่สังคมตามเป้าหมายของสถาบัน

4

2

0.67

1

3.67

2

0.67

1

3.67

5.2

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีส่วนร่วมใน การให้บริการทางวิชาการแก่สังคม เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการวิชาการ กรรมการวิชาชีพ ในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำ

60

3

1

1

5

3

1

1

5

5.2.1

มีการนำความรู้และประสบการณ์ จากการบริการวิชาการและ วิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียน การสอน และการวิจัย

3

3

1

1

5

3

1

1

5

 

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้
(9 องค์ประกอบ 62 ตัวบ่งชี้)

เป้า
หมาย 2550

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

อิง มาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุ เป้าหมาย

รวม

อิง มาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุ เป้าหมาย

รวม

5.2.2

จำนวนชั่วโมงเฉลี่ยที่อาจารย์ประจำให้ บริการวิชาการและวิชาชีพ ที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและ เสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ

120

0

0

0

0

0

0

0

0

5.3

ร้อยละของกิจกรรมหรือโครงการบริการ วิชาการและวิชาชีพ ที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและ เสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานา ชาติต่ออาจารย์ประจำ

100

3

1

1

5

3

1

1

5

5.3.1

ค่าใช้จ่าย และมูลค่าของสถาบัน ในการบริการวิชาการ และวิชาชีพเพื่อสังคมต่ออาจารย์ประจำ

26,666.67

3

1

1

5

3

1

1

5

5.4

ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการ

80

3

1

1

5

3

1

1

5

องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

6.1

มีระบบและกลไกในการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

3

3

1

1

5

3

1

1

5

6.1.1

ร้อยละของโครงการ/กิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษา

ไม่ประเมิน

6.1.2

ร้อยละของค่าใช้จ่ายและมูลค่าที่ใช้ใน การอนุรักษ์พัฒนาและสร้างเสริม เอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรมต่องบดำเนินการ

0.5

1

0

0

1

1

0

0

1

 


องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้
(9 องค์ประกอบ 62 ตัวบ่งชี้)

เป้า
หมาย 2550

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

อิง มาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุ เป้าหมาย

รวม

อิง มาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุ เป้าหมาย

รวม

6.1.3

ร้อยละเฉลี่ยของนักศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ /กิจกรรมในการอนุรักษ์พัฒนา และสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะ และวัฒนธรรมต่อจำนวนนักศึกษาทั้งหมด

ไม่ประเมิน

 องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ

7.1

สภาสถาบันใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการและ สามารถผลักดันสถาบันให้แข่งขันได้ในระดับสากล

4

2

0.67

1

3.67

2

0.67

1

3.67

7.2

ภาวะผู้นำของผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน

3

2

0.67

1

3.67

2

0.67

1

3.67

7.3

มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การเรียนรู้

2

1

0.33

1

2.33

1

0.33

1

2.33

7.4

มีระบบและกลไกในการบริหาร ทรัพยากรบุคคลเพื่อพัฒนา และธำรงรักษาไว้ให้บุคลากร มีคุณภาพและประสิทธิภาพ

4

2

0.67

1

3.67

2

0.67

1

3.67

7.4.1

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่เข้า ร่วมประชุมวิชาการ หรือนำเสนอผลงานวิชาการ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

66.67

3

1

1

5

3

1

1

5

7.4.2

ร้อยละของบุคลากรประจำ สายสนับสนุนที่ได้รับพัฒนา ความรู้และทักษะในวิชาชีพ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

75

1

0

0

1

1

0

0

1

7.5

ศักยภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร การเรียนการสอน และการวิจัย

3

2

0.67

0

2.67

2

0.67

0

2.67

 


องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้
(9 องค์ประกอบ 62 ตัวบ่งชี้)

เป้า
หมาย 2550

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

อิง มาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุ เป้าหมาย

รวม

อิงมาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุเป้าหมาย

รวม

7.6

ระดับความสำเร็จในการเปิดโอกาสให้บุคคลภายนอก เข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาสถาบันอุดมศึกษา

4

1

0

0

1

1

0

0

1

7.7

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับรางวัลผลงาน ทางวิชาการหรือวิชาชีพในระดับชาติหรือนานาชาติ

1

3

1

1

5

3

1

1

5

7.8

มีการนำระบบบริหารความเสี่ยงมาใช้ใน กระบวนการบริหารการศึกษา

4

2

0.67

1

3.67

2

0.67

1

3.67

7.9

ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวบ่งชี้และ เป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล

5

1

0

0

1

1

0

0

1

องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ

8.1

มีระบบและกลไกในการจัดสรร การวิเคราะห์ค่าใช้จ่าย การตรวจสอบการเงินและงบประมาณอย่างมีประสิทธิภาพ

ไม่ประเมิน

8.1.1

สินทรัพย์ถาวรต่อจำนวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า)

ไม่ประเมิน

8.1.2

ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจำนวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า)

10%

1

0

0

1

1

0

0

1

8.1.3

ร้อยละของเงินเหลือจ่ายสุทธิต่องบดำเนินการ

1.48

1

0

0

1

1

0

0

1

8.1.4

งบประมาณสำหรับการพัฒนาคณาจารย์ทั้งในประเทศ และต่างประเทศต่ออาจารย์ประจำ

12,000

3

1

1

5

3

1

1

5

 

องค์ประกอบ/ตัวบ่งชี้
(9 องค์ประกอบ 62 ตัวบ่งชี้)

เป้า
หมาย 2550

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

อิง มาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุ เป้าหมาย

รวม

อิง มาตรฐาน

พัฒนาการ

บรรลุ เป้าหมาย

รวม

8.1.5

ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ใช้ในระบบห้องสมุด คอมพิวเตอร์และศูนย์สารสนเทศต่อนักศึกษา

ไม่ประเมิน

8.2

มีการใช้ทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันร่วมกัน

3

1

0.33

0

1.33

1

0.33

0

1.33

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

9.1

มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพภายในที่เป็น ส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา

5

3

1

1

5

3

1

1

5

9.2

มีระบบและกลไกการให้ความรู้และทักษะด้าน การประกันคุณภาพแก่นักศึกษา

ไม่ประ
เมิน

9.3

ระดับความสำเร็จของการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน

4

3

1

1

5

3

1

1

5

เฉลี่ยรวมทุกตัวบ่งชี้

3.62

ผลการประเมิน

 

 

 

 

 

 

 

 

ดี