วิธีทำงานวิจัยที่มีคุณภาพ ได้รับรางวัลระดับชาติ
 

 

สรุปผลการประเมินตามองค์ประกอบคุณภาพ

ตาราง ป.2                                                                                                                                                                            


องค์ประกอบคุณภาพ

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน
1.5 การดำเนินงาน ยังไม่ได้คุณภาพ
1.51-2.00 การดำเนินงานคุณภาพพอใช้
2.01-2.50 การดำเนินงาน คุณภาพดี
2.51-3.00 การดำเนินงาน คุณภาพดีมาก

หมายเหตุ

ตัวชี้บ่ง สกอ.

ตัวชี้บ่ง สกอ.+สถาบัน

I

P

O

รวม

I

P

O

รวม

ตัวชี้บ่ง สกอ.

ตัวชี้บ่ง สกอ.+สถาบัน

องค์ประกอบที่ 1

 

2.00

3.00

2.50

 

2.00

3.00

2.50

ดี

ดี

 

องค์ประกอบที่ 2

7.00

12.00

6.00

2.27

10.00

12.00

14.00

2.25

ดี

ดี

 

องค์ประกอบที่ 3

 

2.00

 

1.00

 

2.00

0.00

1.00

ไม่ได้คุณภาพ

ไม่ได้คุณภาพ

 

องค์ประกอบที่ 4

3.00

6.00

4.00

2.60

15.00

6.00

4.00

2.78

ดีมาก

ดีมาก

 

องค์ประกอบที่ 5

3.00

2.00

6.00

2.75

9.00

2.00

6.00

2.43

ดีมาก

ดี

 

องค์ประกอบที่ 6

 

3.00

 

3.00

1.00

3.00

0.00

2.00

ดีมาก

พอใช้

 

องค์ประกอบที่ 7

2.00

9.00

5.00

1.78

6.00

9.00

5.00

1.82

พอใช้

พอใช้

 

องค์ประกอบที่ 8

 

1.00

 

1.00

4.00

1.00

1.00

1.50

ไม่ได้คุณภาพ

ไม่ได้คุณภาพ

 

องค์ประกอบที่ 9

 

3.00

3.00

3.00

 

3.00

3.00

3.00

ดีมาก

ดีมาก

 

เฉลี่ยรวมทุกองค์ประกอบ

2.14

2.11

2.45

2.22

2.25

2.11

2.25

2.20

ดี

ดี

 

ผลการประเมิน

ดี

ดี

ดี

ดี

ดี

ดี

ดี

ดี

 

 

 

ตาราง ป.3 ผลการประเมินตามมาตรฐานการอุดมศึกษา


องค์ประกอบคุณภาพ

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน
1.5 การดำเนินงาน ยังไม่ได้คุณภาพ
1.51-2.00 การดำเนินงานคุณภาพพอใช้
2.01-2.50 การดำเนินงาน คุณภาพดี
2.51-3.00 การดำเนินงาน คุณภาพดีมาก

หมายเหตุ

ตัวชี้บ่ง สกอ.

ตัวชี้บ่ง สกอ.+สถาบัน

I

P

O

รวม

I

P

O

รวม

ตัวชี้บ่ง สกอ.

ตัวชี้บ่ง สกอ.+สถาบัน

มาตรฐานที่ 1

 

 

6

3.00

 

 

6

3.00

คุณภาพดีมาก

คุณภาพดีมาก

ด้านคุณภาพบัณฑิต 

มาตรฐานที่ 2

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ด้านการบริหารจัดการอุดมศึกษา

มาตรฐานที่ 2 ก

2

16

11

2.07

10

16

12

2.00

คุณภาพดี

คุณภาพพอใช้

ธรรมาภิบาลของการบริหารการอุดมศึกษา

มาตรฐานที่ 2 ข

13

20

10

2.26

35

20

18

2.28

คุณภาพดี

คุณภาพดี

พันธกิจของการบริหารการอุดมศึกษา   

มาตรฐานที่ 3

 

4

 

2.00

 

4

 

2.00

คุณภาพพอใช้

คุณภาพพอใช้

ด้านการสร้างและพัฒนาสังคมฐานความรู้
และสังคมแห่งการเรียนรู้

เฉลี่ยรวม

2.14

2.11

2.70

2.22

2.37

2.11

2.40

2.20

 

 

 

ผลการประเมิน

ดี

ดี

ดีมาก

ดี

ดี

ดี

ดี

ดี

 

 

 

 

ตาราง ป.4 ผลการประเมินตามมุมมอง 4 ด้าน BSC


องค์ประกอบคุณภาพ

คะแนนการประเมินเฉลี่ย

ผลการประเมิน
1.5 การดำเนินงาน ยังไม่ได้คุณภาพ
1.51-2.00 การดำเนินงานคุณภาพพอใช้
2.01-2.50 การดำเนินงาน คุณภาพดี
2.51-3.00 การดำเนินงาน คุณภาพดีมาก

หมายเหตุ

ตัวชี้บ่ง สกอ.

ตัวชี้บ่ง สกอ.+สถาบัน

I

P

O

รวม

I

P

O

รวม

ตัวชี้บ่ง สกอ.

ตัวชี้บ่ง สกอ.+สถาบัน

ด้านที่ 1 นักศึกษาและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Customer)

4

9

12

2.27

10

9

15

2.27

คุณภาพดี

คุณภาพดี

 

ด้านที่ 2 กระบวนการภายใน (Internal Process)

2

17

8

2.25

6

17

13

2.12

คุณภาพดี

คุณภาพดี

 

ด้านที่ 3 การเงิน(Finance)

3

1

 

2.00

19

1

1

2.33

คุณภาพพอใช้

คุณภาพดี

 

ด้านที่ 4 บุคลากรการเรียนรู้และนวัตกรรม (Learning and Innovation)

6

13

7

2.17

10

13

7

2.14

คุณภาพดี

คุณภาพดี

 

เฉลี่ยรวม

2.14

2.00

2.25

2.22

2.65

1.90

1.71

2.20

 

 

 

ผลการประเมิน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

จุดแข็ง จุดอ่อน และข้อเสนอแนะ

ผลการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษา
คณะกรรมการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษา    ได้ประชุมพิจารณาผลการประเมิน
เมื่อวันที่  25  กรกฎาคม 2551  และเห็นว่า  สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์  มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ดี (คะแนนเฉลี่ย 2.22) ของ 37 ตัวบ่งชี้ สกอ และ มีผลการประเมินอยู่ในระดับ ดี (คะแนนเฉลี่ย 2.20) ของ 55 ตัวบ่งชี้ สกอ+สถาบัน เมื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบผลการดำเนินการครบ
ทั้ง 9 องค์ประกอบ คณะกรรมการประเมินฯ ได้พิจารณาผลการประเมินแล้วมีความเห็นเพิ่มเติมเพื่อสรุปเป็นแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุง ดังนี้

องค์ประกอบที่ 1 ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนการดำเนินการ
                จุดแข็ง
มีการระบุ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์และแผนการดำเนินการที่ชัดเจน

                การสร้างเสริมความแข็งแกร่ง
ควรระบุสิ่งที่ชี้ให้เห็นถึงอัตลักษณ์ของสถาบัน

                จุดอ่อน
                                วิสัยทัศน์ ขาดความเฉพาะเจาะจงที่เป็นเอกลักษณ์ของสถาบัน

                แนวทางแก้ไข
                                ควรระบุวิสัยทัศน์ให้กระชับเข้าใจได้อย่างเฉพาะเจาะจงของสถาบัน
                               
องค์ประกอบที่ 2 การเรียนการสอน
                จุดแข็ง

  1. มีหลักสูตรที่ได้มาตรฐานและมีกลไกในการพัฒนาและบริหารหลักสูตรที่ดี
  2. อาจารย์ประจำมีวุฒิปริญญาเอกสูง
  3. มีนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาได้รับรางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยสูง
  4. บทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติทุกฉบับ

การสร้างเสริมความแข็งแกร่ง

  1. ควรมีงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนเพิ่มขึ้น
  2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้นิสิตระดับบัณฑิตศึกษานำเสนอผลงานวิจัยเพิ่มขึ้น

               
จุดอ่อน

  1. บทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาโทยังตีพิมพ์เผยแพร่น้อย
  2. คณาจารย์มีตำแหน่งทางวิชาการน้อยกว่าเกณฑ์ สกอ. ทั้ง ๆ ที่มีงานวิจัยทุกคน

                แนวทางแก้ไข

  1. กระตุ้นนิสิตระดับปริญญาโทให้ตีพิมพ์บทความจากวิทยานิพนธ์ในวารสาร
  2. ส่งเสริมและสนับสนุนให้อาจารย์มีสัดส่วนในงานวิจัยไม่ต่ำกว่า 50% เพื่อการขอตำแหน่งทางวิชาการ

องค์ประกอบที่ 3 กิจกรรมการพัฒนานิสิตนักศึกษา
                จุดแข็ง
มีการจัดบริการต่าง ๆ ที่หลากหลายในสถาบันฯ ให้กับนิสิต ศิษย์เก่า อย่างต่อเนื่อง เช่น การปรับปรุงทางกายภาพ เว็บบอร์ด ศิษย์เก่า

                การสร้างเสริมความแข็งแกร่ง
ปรับปรุงเว็บบอร์ดให้ทันสมัย

                จุดอ่อน
ไม่มีการประเมินคุณภาพการให้บริการเป็นลายลักษณ์อักษร

                แนวทางแก้ไข
จัดทำเอกสารประเมินผลการจัดบริการต่าง ๆ ที่ให้กับนิสิตเป็นประจำทุกปี เพื่อนำผลการประเมินมาพัฒนาการจัดบริการแก่นิสิตและศิษย์เก่า

 

 

องค์ประกอบที่ 4 การวิจัย
จุดแข็ง
สถาบันมีงานวิจัยที่ได้รับทุนทั้งภายในและภายนอก และอาจารย์ทุกคนมีงานวิจัย

การสร้างเสริมความแข็งแกร่ง
ควรสนับสนุนให้อาจารย์ทุกคนได้ขอรับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากภายนอก

จุดอ่อน
บทความที่ได้รับการอ้างอิงน้อย

                แนวทางแก้ไข
สร้างเสริมกระตุ้นให้อาจารย์ตีพิมพ์บทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง
องค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม
                จุดแข็ง
มีบริการวิชาการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์

                การสร้างเสริมความแข็งแกร่ง
1. ควรมีงานบริการวิชาการในระดับชาติและนานาชาติ
2. จัดทำหลักเกณฑ์ / ระเบียบในการให้บริการวิชาการ

                จุดอ่อน
จำนวนชั่วโมงของการให้บริการวิชาการของอาจารย์น้อย

                แนวทางแก้ไข
ควรเสนอแนะให้มหาวิทยาลัยมีการปรับเกณฑ์การประเมินให้สอดคล้องกับบริบทของอาจารย์มหาวิทยาลัย

องค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม
                จุดแข็ง
มีระบบและกิจกรรมการทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมที่หลากหลาย
                การสร้างเสริมความแข็งแกร่ง
เพิ่มค่าใช้จ่าย (โครงการ) และมูลค่าที่ใช้ในการ อนุรักษ์ พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณะ ศิลปะ และวัฒนธรรมต่องบดำเนินการ

                ข้อเสนอแนะ
ควรปรับเกณฑ์ การประเมินจำนวนนิสิตที่เข้าร่วมโครงการ จาก ปริญญาตรี เป็นบัณฑิตศึกษา
                แนวทางแก้ไข
-

องค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ
                จุดแข็ง
สถาบันฯ มีความแข็งแกร่งด้านวิชาการ การนำเสนอผลงานวิจัยทั้งในและต่างประเทศ

                การสร้างเสริมความแข็งแกร่ง
เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้ามามีส่วนร่วมในการบริหารและพัฒนาสถาบัน

                จุดอ่อน  
ร้อยละของบุคลากรประจำสายสนับสนุนได้ที่ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะในวิชาชีพยังไม่เป็นไปตามเกณฑ์

                แนวทางแก้ไข
จัดโครงการประชุม/อบรม บุคลากรประจำสายสนับสนุนเป็นประจำ


องค์ประกอบที่ 8 การเงินและงบประมาณ
                จุดแข็ง
มีการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาคณาจารย์ทั้งในและต่างประเทศสูงและใช้จ่ายจริง

 

                การสร้างเสริมความแข็งแกร่ง
                                ควรหาแหล่งทุนสนับสนุนเพื่อพัฒนาคณาจารย์ทั้งในและต่างประเทศในปีต่อ ๆไป อย่างสม่ำเสมอ

                จุดอ่อน

  1. ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่างจากเกณฑ์สูงมาก
  2. ยังไม่มีแผนวิเคราะห์ความต้องการการใช้ทรัพยากรทั้งภายในและภายนอกสถาบันร่วมกันที่ชัดเจน

                แนวทางแก้ไข

  1. ควรมีการประชาสัมพันธ์เพื่อรับนิสิตระดับบัณฑิตศึกษาเพิ่มมากขึ้น
  2. ควรให้ผู้รับผิดชอบด้านการบริหารและแผนงานดำเนินการจัดทำแผนวิเคราะห์ความต้องการการใช้ทรัพยากรทั้งภายในและภายนอกสถาบันร่วมกัน

องค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
                จุดแข็ง
                                มีระบบและกลไกการประกันคุณภาพ

                การสร้างเสริมความแข็งแกร่ง
-

                จุดอ่อน
                                ขาดความเชื่อมโยงระหว่าง KPI ของดัชนีบางตัว

                แนวทางแก้ไข
                                ระบุให้เห็นลำดับการเชื่อมโยงของ KPI ซึ่งเป็นผลดีต่อการนำไปปฏิบัติ


พัฒนาการด้านการประกันคุณภาพการศึกษา

  1. กระบวนการด้านการประกันคุณภาพ
    1. มีคณะกรรมการประกันคุณภาพและมีบทบาทที่ชัดเจน
    2. ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหาร สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
    3. ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาและการบริหาร FIS : http://qa.swu.ac.th
    4. มีคู่มือการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
  2. ได้นำผลการตรวจสอบ การประเมินคุณภาพ และข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบ การประเมินคุณภาพในครั้งที่ผ่านมาปรับปรุงการดำเนินงานของหน่วยงาน ดังนี้
    1. มีการปรับปรุงกองบรรณาธิการของวารสารวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
    2. วารสารพฤติกรรมศาสตร์ ได้อยู่บนฐานข้อมูล TCI
    3. บทความวิจัยได้รับการอ้างอิงบนฐานข้อมูล TCI
    4. มีอาจารย์ได้รับตำแหน่งทางวิชาการ (ผศ) เพิ่มขึ้น 1 คน
  3. การเขียน SAR ต้องมี Common Dataset ซึ่งใช้ร่วมกันในการคำนวณ ควรแสดงวิธีการคำนวณ และควรเขียนผลการดำเนินงานให้ชัดเจนเป็นรูปธรรม ให้คณะกรรมการได้ตรวจสอบได้ง่ายดังตัวอย่างในตัวบ่งชี้ 5.1 ซึ่งเขียนได้ดีมาก