วิธีทำงานวิจัยที่มีคุณภาพ ได้รับรางวัลระดับชาติ
 

 

ตัวบ่งชี้ 7.2   ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน

ผู้กำกับติดตามตัวบ่งชี้
ผศ. ประทีป  จินงี่
โทรศัพท์  0-2649-5000 ต่อ 7626

ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล
นางสาววาสนา  วงษ์เพชร
โทรศัพท์ 0-2649-5000 ต่อ 7643

คำอธิบาย
ผลที่ได้จากการดำเนินงานของการประกันคุณภาพภายในของสถาบันอุดมศึกษาที่ได้นำมาใช้เพื่อพัฒนา คุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งมีการนำเอาผลการประเมินคุณภาพภายในมาปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงานให้เกิดผลดียิ่งขึ้น ตลอดจนก่อให้เกิดผลผลิตและผลลัพธ์ของการจัดการศึกษาในมาตรฐานที่ 1-4

ข้อมูลที่ต้องการ :
คู่มือการประกันคุณภาพภายใน รวมทั้งหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าสถาบันการศึกษามีระบบและกลไกในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา เช่น รายงานการตรวจติดตามภายในสถาบัน ตลอดจนผลการพัฒนา/ มูลค่าเพิ่ม (Value added) จากการประกันคุณภาพภายใน รายงานผลการประกันคุณภาพภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและสาธารณชน รวมทั้งความเปลี่ยนแปลงอันสืบเนื่องมาจากการประกันคุณภาพภายใน นวัตกรรมด้านการประกันคุณภาพที่สาขาวิชาพัฒนาขึ้นหรือการปฏิบัติที่เป็นเลิศ หรือการเป็นแหล่งอ้างอิงของกลุ่มสาขาอื่นๆ ตลอดจนผลการพัฒนา/ มูลค่าเพิ่ม (Value added) จากการประกันคุณภาพภายใน เป็นต้น
ข้อมูลที่แสดงถึงผลการประกันคุณภาพภายในต่อการพัฒนาสถาบันและบุคลากร การบริหารจัดการของสถาบันและหลักสูตร และการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตลอดจนการประกันคุณภาพภายในที่ส่งผลต่อคุณภาพบัณฑิต คุณภาพงานวิจัย ประสิทธิผลของการบริการวิชาการ และการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรมของสถาบัน
ผลการดำเนินงาน

ข้อมูลประกอบการประเมินตัวบ่งชี้

ผลการดำเนินงานปีการศึกษา

เป้าหมาย
ในปีการศึกษา 2550

2547

2548

2549

ระดับ 1  มีการดำเนินการตามระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในระดับกลุ่มสาขาอย่างต่อเนื่อง

/
/
/
/

ระดับ 2  มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายในโดยสอดคล้องตามพันธกิจของกลุ่มสาขาวิชา

/
/
/
/

ระดับ 3  มีการรายงานผลการประกันคุณภาพภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน

/
/
/
/

ระดับ 4  มีการนำผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง

/
/
/
/

ระดับ 5  มีนวัตกรรมด้านการประกันคุณภาพที่สาขาวิชาพัฒนาขึ้นหรือการปฏิบัติที่เป็นเลิศ หรือการเป็นแหล่งอ้างอิงของกลุ่มสาขาอื่น ๆ

-

-

-

-

เอกสารอ้างอิง 7.2
ระดับ 1  มีการดำเนินการตามระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในระดับกลุ่มสาขาอย่างต่อเนื่อง

ชื่อเอกสาร

อ้างอิง

หมายเหตุ

คู่มือการประกันคุณภาพภายใน

49-16A -0701-01

แฟ้ม SAR ปี 2549
ม. 7.0-2

ระดับ 2  มีการปรับปรุงระบบประกันคุณภาพภายในโดยสอดคล้องตามพันธกิจของกลุ่มสาขาวิชา

ชื่อเอกสาร

อ้างอิง

หมายเหตุ

ตัวบ่งชี้ และมาตรฐานของปี 49 (AS-1)

49-16A-0702-01

แฟ้ม SAR ปี 2549
ม. 7.0-2

คำสั่งมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ที่ 1795/2550 เรื่อง แต่ตั้งคณะทำงานการจัดทำรายงานการประเมินตนเอง มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีการศึกษา 2547 และปีการศึกษา 2548  (ผศ.ประทีป จินงี่)

49-16A-0702-02

 

ระดับ 3 มีการรายงานผลการประกันคุณภาพภายในต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และสาธารณชน       

ชื่อเอกสาร

อ้างอิง

หมายเหตุ

การเผยแพร่รายงานการประกันคุณภาพภายในทางเว็บไซต์

http://bsri.swu.ac.th/news/upload/sar48.pdf

 

หนังสือประทับตรา ที่ ศธ 0519.13.01/889 ถึง ฝ่ายประกันคุณภาพการศึกษา ขอส่งรายงานการประเมินตนเองปีการศึกษา 2548 จำนวน 2 เล่ม

49-16A -0702-03

 

ระดับ 4  มีการนำผลการประเมินมาใช้ในการปรับปรุงการดำเนินงานของหน่วยงานอย่างต่อเนื่อง               

ชื่อเอกสาร

อ้างอิง

หมายเหตุ

รายงานการประชุมคณะกรรมการฝ่ายวิชาการ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ ในวาระ การกำหนดตัวบ่งชี้เฉพาะภายใน มาตรฐานที่ 1.8 2.8  และ 2.9 (มีเฉพาะ รายละเอียดตัวบ่งชี้เฉพาะ)

49- 16A -0700-14

แฟ้ม SAR ปี 2549
ม. 7.0-2

รายงานการปรับปรุงการดำเนินการการจัดกิจกรรมตามผลการประเมินคุณภาพภายใน

49-16A -0700-15

 

รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ ครั้งที่ 5/2549 วันอังคารที่ 19 กย 2549

49-16A -0700-16

 

รายงานการประชุมคณาจารย์และข้าราชการ ครั้งที่ 5/2549 วันอังคารที่ 3 ตุลาคม 2549

49-16A -0700-17

 

ระดับ 5  มีนวัตกรรมด้านการประกันคุณภาพที่สาขาวิชาพัฒนาขึ้นหรือการปฏิบัติที่เป็นเลิศ หรือการเป็นแหล่งอ้างอิงของกลุ่มสาขาอื่น ๆ               

ชื่อเอกสาร

อ้างอิง

หมายเหตุ

รายงานการนำข้อมูลจาก ICT มาใช้ในการประกันคุณภาพ

49-16A-0702-01

แฟ้ม SAR ปี 2549
ม. 7.0-2

เกณฑ์การให้คะแนน / คะแนนที่ได้

  1. การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ (คะแนนเต็ม 3 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

3

ระดับ 1 – 2

ระดับ 3

ระดับ 4

2.การประเมินอิงพัฒนาการ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

0 คะแนน

1 คะแนน

1

ไม่มีการพัฒนา

มีการพัฒนา

หมายเหตุ
ถ้าผลการประเมินครั้งที่ 2 สูงกว่าผลการประเมินครั้งที่ 1 หรือถ้าผลการประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานครั้งที่ 2 อยู่ในระดับ 3 คะแนน ถือว่ามีการพัฒนา

3.การประเมินประสิทธิผลตามแผนของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์(คะแนนเต็ม 1 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

0 คะแนน

1 คะแนน

1

ไม่บรรลุตามเป้าหมายของแผน

บรรลุตามเป้าหมายของแผน

สรุปคะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ 7.2

คะแนนที่ได้จากการประเมิน

รวมคะแนน

อิงเกณฑ์มาตรฐาน

อิงพัฒนาการ

อิงประสิทธิผลตามแผนฯ

5

3

1

1

ตัวบ่งชี้

น้ำหนัก
(1)

คะแนนที่ได้
(2)

ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก
(3) = (1) x (2)

7.2  ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน

6.67

5

33.35