วิธีทำงานวิจัยที่มีคุณภาพ ได้รับรางวัลระดับชาติ
 

 

ตัวบ่งชี้ 7.1   มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

ผู้กำกับติดตามตัวบ่งชี้
ผศ.ประทีป  จินงี่
โทรศัพท์  0-2649-5000 ต่อ 7626

ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล
นางสาววาสนา  วงษ์เพชร
โทรศัพท์ 0-2649-5000 ต่อ 7643

คำอธิบาย
การดำเนินงานของสถาบันการศึกษาในการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถาบัน ระบบและกลไกการพัฒนาคุณภาพ วิธีการ ขั้นตอน บุคลากร งบประมาณ การติดตามคุณภาพ และการประเมินคุณภาพภายใน เพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาของสถาบันการศึกษาตามที่ต้นสังกัดได้กำหนดไว้ เพื่อแสดงให้เห็นว่าสถาบันอุดมศึกษาได้ตระหนักถึงคุณภาพการศึกษา โดยมีระบบและกลไกต่างๆ ที่สนับสนุนให้เกิดการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพตามที่ได้กำหนดไว้

ข้อมูลที่ต้องการ :

คู่มือการประกันคุณภาพภายใน รวมทั้งหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าสถาบันการศึกษามีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถาบันและมีระบบและกลไก ในการดำเนินงานประกันคุณภาพการศึกษา เช่น คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพภายใน มาตรฐานและตัวบ่งชี้คุณภาพภายใน ภาพถ่ายกิจกรรมการดำเนินงาน รายงานการตรวจติดตามภายในสถาบัน รวมทั้งงบประมาณสำหรับการดำเนินการประเมินคุณภาพภายใน รวมทั้งผลที่เกิดขึ้นจากการนำเอาผลประเมินคุณภาพภายในมาพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานตามพันธกิจให้เกิดผลดีเป็นต้น

ผลการดำเนินงาน

ข้อมูลประกอบการประเมินตัวบ่งชี้

ผลการดำเนินงานปีการศึกษา

เป้าหมาย
ในปีการศึกษา 2550

2547

2548

2549

ระดับ 1  มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายใน

-

-

/

/

ระดับ 2  มีการกำหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ของสถาบันที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาและ เอกลักษณ์ของสถาบันครอบคลุมปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพอย่างครบถ้วน ทั้งปัจจัยนำเข้า กระบวนการจัดการศึกษา และผลผลิต สามารถรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก และเทียบระดับ (Benchmarking)

-

-

/

/

ระดับ 3  มีการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาที่สมบูรณ์ประกอบด้วย การพัฒนาคุณภาพ การตรวจติดตามคุณภาพ และการประเมินคุณภาพอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี

-

-

/

/

ระดับ 4  มีการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่เหมาะสม สอดคล้องกับแนวทางการจัดการศึกษาของสถาบัน โดยได้รับการสนับสนุนจากต้นสังกัด และการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพจากทุกภาคีทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมของชุมชน

-

-

-

/

ระดับ 5  มีการนำเอาผลจากการประเมินคุณภาพภายในมาพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานตามพันธกิจให้เกิดผลดี

-

-

-

-

 

 

เอกสารอ้างอิง 7.1
ระดับ 1  มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายใน

ชื่อเอกสาร

อ้างอิง

หมายเหตุ

ปีการศึกษา 2549

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา

49-16A-0701-01

แฟ้ม SAR ปี 2549
ม. 7.0-2

คำสั่งมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ที่ 2025/2550 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2549

49-16A-0700-06

 

ปีการศึกษา 2548

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา

5200-48-0901-02

แฟ้ม SAR ปี 2548
ม.9.1

คำสั่งมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ที่ 1926/2549 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2548

5200-49-0901-02

แฟ้ม SAR ปี 2549
ม. 7.1

ปีการศึกษา 2547

คู่มือการประกันคุณภาพการศึกษา

5200-47-0901-03

แฟ้ม SAR ปี 2547
ม.9.1

               


ระดับ 2  มีการกำหนดมาตรฐานและตัวบ่งชี้ของสถาบันที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาระดับอุดมศึกษาและเอกลักษณ์ของสถาบันครอบคลุมปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพอย่างครบถ้วน ทั้งปัจจัยนำเข้า กระบวนการจัดการศึกษา และผลผลิต สามารถรองรับการประเมินคุณภาพภายนอก และเทียบระดับ (Benchmarking)

ชื่อเอกสาร

อ้างอิง

หมายเหตุ

รายชื่อมาตรฐานที่เพิ่มตัวบ่งชี้เฉพาะของสถาบันฯ (ม.1.9   2.8 และ 2.9)

49-16A-0701-02

แฟ้ม SAR ปี 2549
ม. 7.0-2

ระดับ 3  มีการดำเนินงานด้านการประกันคุณภาที่สมบูรณ์ประกอบด้วย การพัฒนาคุณภาพ การตรวจติดตามคุณภาพ และการประเมินคุณภาพอย่างต่อเนื่องเป็นประจำทุกปี

ชื่อเอกสาร

อ้างอิง

หมายเหตุ

รายงานการประเมินตนเองของปีการศึกษา 2549

5200-49-0901-4

แฟ้ม SAR ปี 2549

รายงานการประเมินตนเองของปีการศึกษา 2548

5200-49-0901-5

แฟ้ม SAR ปี 2548

รายงานการประเมินตนเองของปีการศึกษา 2547

5200-49-0901-6

แฟ้ม SAR ปี 2547


ระดับ 4  มีการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่เหมาะสม สอดคล้องกับแนวทางการจัดการศึกษาของสถาบัน โดยได้รับการสนับสนุนจากต้นสังกัด และการมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพจากทุกภาคีทั้งภายในและภายนอกมหาวิทยาลัย โดยเฉพาะการมีส่วนร่วมของชุมชน 

ชื่อเอกสาร

อ้างอิง

หมายเหตุ

ปีการศึกษา 2549

รายงานการประชุมการประชาพิจารณ์ ปี 2549

49-16A-0700-13

แฟ้ม SAR ปี 2549
ม. 7.0-2 อ

ภาพถ่ายกิจกรรม การดำเนินการจัดทำเล่ม SAR การประชาพิจารณ์ ปี 2549

49-16A-0700-11

 

กำหนดการการประชาพิจารณ์ และการรับการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 49

49-16A-0701-03

 

ปีการศึกษา 2548

ภาพถ่ายกิจกรรม การดำเนินการจัดทำเล่ม SAR ประชาพิจารณ์ และการรับการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 48

5200-48-0901-04

แฟ้ม SAR ปี 2548
ม.9.1

กำหนดการการประชาพิจารณ์ และการรับการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 48

5200-49-0901-10

แฟ้ม SAR ปี 2549
ม. 7.0-2

ปีการศึกษา 2547

กำหนดการการประชาพิจารณ์ และการรับการประเมินการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 47

5200-47-0901-06

แฟ้ม SAR ปี 2547
ม.9.1


ระดับ 5  มีการนำเอาผลจากการประเมินคุณภาพภายในมาพัฒนาปรับปรุงการดำเนินงานตามพันธกิจให้เกิดผลดี

ชื่อเอกสาร

อ้างอิง

หมายเหตุ

รายงานการประชุมคณะกรรมการฝ่ายวิชาการ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ ในวาระ การกำหนดตัวบ่งชี้เฉพาะภายใน มาตรฐานที่ 1.8 2.8  และ 2.9 (มีเฉพาะ รายละเอียดตัวบ่งชี้เฉพาะ)

49- 16A-0700-14

แฟ้ม SAR ปี 2549
ม. 7.0-2

รายงานการปรับปรุงการดำเนินการการจัดกิจกรรมตามผลการประเมินคุณภาพภายใน

49-16A-0700-15


รายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ ครั้งที่ 5/2549 วันอังคารที่ 19 กย 2549

49-16A -0700-16

 

รายงานการประชุมคณาจารย์และข้าราชการ ครั้งที่ 5/2549 วันอังคารที่ 3 ตุลาคม 2549

49-16A -0700-17

 

               
เกณฑ์การให้คะแนน / คะแนนที่ได้

  1. การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ (คะแนนเต็ม 3 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

2

ระดับ 1 – 2

ระดับ 3

 ระดับ 4

2.การประเมินอิงพัฒนาการ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

0 คะแนน

1 คะแนน

1

ไม่มีการพัฒนา

มีการพัฒนา

หมายเหตุ
ถ้าผลการประเมินครั้งที่ 2 สูงกว่าผลการประเมินครั้งที่ 1 หรือถ้าผลการประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานครั้งที่ 2 อยู่ในระดับ 3 คะแนน ถือว่ามีการพัฒนา

3.การประเมินประสิทธิผลตามแผนของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์(คะแนนเต็ม 1 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

0 คะแนน

1 คะแนน

1

ไม่บรรลุตามเป้าหมายของแผน

บรรลุตามเป้าหมายของแผน

สรุปคะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ 7.1

คะแนนที่ได้จากการประเมิน

รวมคะแนน

อิงเกณฑ์มาตรฐาน

อิงพัฒนาการ

อิงประสิทธิผลตามแผนฯ

4

2

1

1

ตัวบ่งชี้

น้ำหนัก (1)

คะแนนที่ได้ (2)

ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก (3) = (1) x (2)

7.1  มีระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในที่ก่อให้เกิด การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

6.67

4

26.68