ตัวบ่งชี้ 6.6 กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยเฉพาะการเรียนรู้จากการปฏิบัติและประสบการณ์จริง
ผู้กำกับติดตามตัวบ่งชี้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประทีป จินงี่
โทรศัพท์ 02-6495000 ต่อ 7626 |
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล
นางวนิดา ธรรมเกษร
โทรศัพท์ 02-6495000 ต่อ 7642 |
คำอธิบาย
กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยเฉพาะการเรียนรู้จากการปฏิบัติและประสบการณ์จริงมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่คำนึงถึงความแตกต่างเฉพาะตัวของนิสิตนักศึกษา และการจัดให้นิสิตนักศึกษามีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้มากที่สุด เช่น การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าวิจัยโดยอิสระในรูปโครงการวิจัยส่วนบุคคล การเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีโอกาสเลือกเรียนได้หลากหลายวิชาทั้งในและนอกคณะ การเปิดรายวิชาเลือกเสรีที่ครอบคลุมองค์ความรู้ต่างๆ จำนวนหน่วยกิตหรือจำนวนชั่วโมงเรียนในภาคปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ รวมทั้งมีการฝึกประสบการณ์ภาคสนามอย่างพอเพียง มีการจัดสัมมนา จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ จัดทำโครงงาน มีการเรียนการสอนทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Internet) และมีห้องสมุดและระบบสืบค้นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่เพียงพอที่จะศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง
ตัวบ่งชี้นี้จะมีลักษณะเป็นตัวบ่งชี้เชิงคุณภาพที่ต้องอาศัยความละเอียดในการพิจารณาและมีลักษณะแตกต่างจากตัวบ่งชี้อื่นๆ ที่กล่าวมาแล้ว อย่างไรก็ตาม ตัวบ่งชี้นี้มีความสำคัญเนื่องจากเป็นตัวบ่งชี้ที่จะบอกให้ทราบว่าสถาบันการศึกษาได้จัดการศึกษาตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ตามมาตรา 22 หรือไม่ ซึ่งมาตรา 22 กำหนดไว้ว่า "การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด"
ผู้ประเมินอาจจะพิจารณาหาร่องรอยหลักฐานด้วยวิธีการอื่นๆ เช่น การสังเกตการเรียนการสอน วิธีการตั้งปัญหา และพิจารณาจากงานที่ผู้สอนมอบหมายด้วย
ข้อมูลที่ต้องการ :
ข้อมูลที่แสดงให้เห็นหลักฐานของการปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้แบบเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เช่น จำนวนหน่วยกิตหรือจำนวนชั่วโมงเรียนในภาคปฏิบัติที่แสดงถึงการให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้ตามความสนใจ การทำ Senior project วิชาสัมมนา และวิชาที่มอบหมายให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง รวมทั้งจำนวนชั่วโมงในภาคสนาม จำนวนโปรแกรม/ รายวิชาที่เป็นวิชาเลือกเสรี ผลการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล ผลการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียนและอิงพัฒนาการของผู้เรียน และมีการนำผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ
นอกจากนั้นยังรวมถึงผลงานอาจารย์ที่เป็นงานวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและการเรียนรู้ของผู้เรียนและนำผลไปใช้พัฒนาผู้เรียน จำนวนรายวิชาที่มีการเรียนการสอนทางเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Internet) จำนวนชั่วโมงที่เปิดให้บริการให้นิสิตนักศึกษาใช้ห้องสมุดและห้องคอมพิวเตอร์ต่อวัน เป็นต้น รวมถึง แผนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ผลการดำเนินงาน
ข้อมูลประกอบการประเมินตัวบ่งชี้ |
ผลการดำเนินงานปีการศึกษา |
เป้าหมาย
ในปีการศึกษา 2550 |
2547 |
2548 |
2549 |
1. คณาจารย์มีความรู้ความเข้าใจ รู้เป้าหมายของการจัดการศึกษา และหลักสูตรการศึกษาอุดมศึกษา |
/ |
/ |
/ |
/ |
2.คณาจารย์มีการวิเคราะห์ศักยภาพของผู้เรียนและเข้าใจผู้เรียนเป็นรายบุคคล |
/ |
/ |
/ |
/ |
3.คณาจารย์มีความสามารถในการจัดประสบการณ์ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ |
/ |
/ |
/ |
/ |
4. คณาจารย์มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเองและผู้เรียน |
/ |
/ |
/ |
/ |
5. คณาจารย์มีการประเมินผลการเรียนการสอนที่สอดคล้องกับสภาพการเรียนรู้ที่จัดให้ผู้เรียนและอิงพัฒนาการของผู้เรียน |
/ |
/ |
/ |
/ |
6.คณาจารย์มีการนำผลการประเมินมาปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เต็มตามศักยภาพ |
/ |
/ |
/ |
/ |
7. คณาจารย์มีการวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและการเรียนรู้ ของผู้เรียนและนำผลไปใช้พัฒนาผู้เรียน |
- |
- |
/ |
/ |
คณาจารย์สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ ตระหนักถึงธรรมชาติความแตกต่างระหว่างบุคคลของผู้เรียนดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนทุกรายวิชาของสถาบัน จึงใช้วิธีการที่เหมาะกับเป้าหมายการศึกษา และศักยภาพของผู้เรียน โดยใช้สื่อการสอนและเทคโนโลยีช่วยให้ผู้เรียนพัฒนาความรู้ความสามารถของตน รวมทั้งสามารถแสวงหาความรู้เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง ดังนั้นรายวิชาที่ปรากฏในหลักสูตรจำนวน 62 รายวิชาและได้เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษานั้นล้วนแต่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
ปีการศึกษา 2549 : เปิดสอน 21 รายวิชาเป็นวิชาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญทั้ง 21 รายวิชา ซึ่ง พิจารณาจาก
ฐานการวิเคราะห์รายวิชา ดังนี้
การจัดการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมประสบการณ์จริงมีเก็บข้อมูลจาก Course Syllabus ของรายวิชาที่เปิดสอนในปีการศึกษา 2549 จำนวน รายวิชาโดยใช้เกณฑ์พิจารณาการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมประสบการณ์จริง ดังนี้
- คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลของนิสิต พิจารณาจากการทำงานตามความสนใจ
- จัดให้นิสิตมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งในและนอกห้องเรียน พิจารณาจากวิธีการสอน เช่น แบบอภิปราย การวิเคราะห์ การสังเคราะห์
- เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ค้นคว้าวิจัยโดยอิสระ พิจารณาจากรูปแบบการจัดการเรียนการสอน ที่ให้ผู้เรียนค้นคว้า
- ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง พิจารณาจาก ลักษณะการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เช่น การฝึกประสบการณ์ภาคสนาม การสัมมนา การทำโครงการ เป็นต้น
- มีห้องสมุดและระบบสืบค้นข้อมูลที่เพียงพอ พิจารณาจาก การใช้ห้องสมุดและระบบฐานข้อมูลต่างของสำนักหอสมุดกลาง งานวิจัยจากศูนย์สารสนเทศของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
ตาราง การวิเคราะห์รายวิชาซึ่งเปิดสอนในปีการศึกษา 2549
ที่จัดการเรียนรู้โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ส่งเสริมประสบการณ์จริง
ที่ |
รหัสวิชา |
รายชื่อวิชาที่เปิดสอน ในปีการศึกษา 2549 |
ภาคเรียน
ที่เปิดสอน |
หลักเกณฑ์การพิจารณาการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียนเป็น สำคัญ ส่งเสริมประสบการณ์จริง |
ข้อ 1 |
ข้อ 2 |
ข้อ 3 |
ข้อ 4 |
ข้อ 5 |
1. |
วป 501 |
วิธีการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ I |
1/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
2. |
วป 501 |
วิธีการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ I |
2/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
3. |
วป 502 |
การสร้างและพัฒนาเครื่องมือวัดทางพฤติกรรมศาสตร์ |
2/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
4 |
วป 511 |
สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางพฤติกรรมศาสตร์ I |
2/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
5. |
วป 521 |
พฤติกรรมศาสตร์เชิงจิตวิทยา |
1/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
6. |
วป 521 |
พฤติกรรมศาสตร์เชิงจิตวิทยา |
2/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
7. |
วป 544 |
โครงสร้างและระบบสังคม |
1/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
8. |
วป 544 |
โครงสร้างและระบบสังคม |
2/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
9. |
วป 581 |
การถ่ายทอดทางสังคมกับพัฒนาการของมนุษย์ |
2/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
10. |
วป 581 |
การถ่ายทอดทางสังคมกับพัฒนาการของมนุษย์ |
3/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
11. |
วป 591 |
การคิดถูกวิธี |
1/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
12. |
วป 591 |
การคิดถูกวิธี |
3/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
13. |
วป 712 |
สถิติเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลทางพฤติกรรมศาสตร์ IV |
1/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
14. |
วป 703 |
การวิจัยเชิงคุณภาพ |
2/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
15. |
วป 733 |
การพัฒนาแรงจูงใจในการทำงาน |
1/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
16. |
วป 801 |
สัมมนาเทคนิคการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ |
1/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
17. |
วป 803 |
การปฏิบัติการวิจัย I |
2/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
18. |
วป 804 |
การปฏิบัติการวิจัย II |
2/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
19. |
วป 884 |
สัมมนาสังคมศาสตร์เชิงพฤติกรรม |
1/2549 |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
20. |
วป 991 |
การศึกษาเฉพาะบุคคล |
1/2549
ป.เอก |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
21. |
วป 991 |
การศึกษาเฉพาะบุคคล |
2/2549
ป.เอก |
/ |
/ |
/ |
/ |
/ |
เอกสารอ้างอิง
รหัสเอกสารอ้างอิง |
รายการเอกสารอ้างอิง |
49-16A-0606-01 |
Course Syllabus ปีการศึกษา 2549 |
เกณฑ์การให้คะแนน / คะแนนที่ได้
1. การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ (คะแนนเต็ม 3 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
|
คะแนนที่ได้ |
1 คะแนน |
2 คะแนน |
3 คะแนน |
3 |
1 2 ข้อ |
3 4 ข้อ |
5 ข้อ |
2. การประเมินอิงพัฒนาการ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
|
คะแนนที่ได้ |
0 คะแนน |
1 คะแนน |
1 |
ไม่มีการพัฒนา |
มีการพัฒนา |
3. การประเมินประสิทธิผลตามแผนของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
|
คะแนนที่ได้ |
0 คะแนน |
1 คะแนน |
1 |
ไม่บรรลุตามเป้าหมายของแผน |
บรรลุตามเป้าหมายของแผน |
สรุปคะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ 6.6
คะแนนที่ได้จากการประเมิน |
รวมคะแนน |
อิงเกณฑ์มาตรฐาน |
อิงพัฒนาการ |
อิงประสิทธิผลตามแผนฯ |
5 |
3 |
1 |
1 |
ตัวบ่งชี้ |
น้ำหนัก (1) |
คะแนนที่ได้ (2) |
ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก (3) = (1) x (2) |
6.6 กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยเฉพาะการเรียนรู้จากการปฏิบัติและประสบการณ์จริง |
2 |
5 |
10 |
|