ตัวบ่งชี้ 6.2 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
ผู้กำกับติดตามตัวบ่งชี้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประทีป จินงี่
โทรศัพท์ 02-6495000 ต่อ 7626 |
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล
นางวนิดา ธรรมเกษร
โทรศัพท์ 02-6495000 ต่อ 7642 |
คำอธิบาย
สัดส่วนของนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ ให้เปรียบเทียบจำนวนนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ปริญญาโท ปริญญาเอก) และนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เรียนเต็มเวลา ต่ออาจารย์ประจำ นับเฉพาะอาจารย์ที่ปฏิบัติงานจริง
นักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า หมายถึง นักศึกษาที่มีสถานภาพเป็นนักศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาและได้มีการลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษานั้น ข้อพิจารณาการนับรวมนักศึกษาภาคปกติกับนักศึกษาภาคพิเศษในการคำนวณค่าตัวชี้วัดนี้ ให้ใช้เกณฑ์การพิจารณาดังนี้ หากการสอนในช่วงเวลาพิเศษดังกล่าว สถาบันได้มีการคำนวณเป็นภาระงานสอนของอาจารย์และไม่มีการจ่ายค่าตอบแทนเป็นการพิเศษในการสอนนอกเวลา ให้ถือว่านักศึกษาดังกล่าวเป็นนักศึกษาภาคปกติ แต่หากสถาบันมิได้นับว่าการสอนดังกล่าวเป็นภาระงานของอาจารย์ หรือได้มีการจ่ายค่าตอบแทนให้กับการสอนดังกล่าวเป็นกรณีพิเศษนอกเหนือจากเงินเดือน ให้นับว่านักศึกษาดังกล่าวเป็นนักศึกษาภาคพิเศษ ทั้งนี้ สำหรับการนับจำนวนนักศึกษาของตัวชี้วัดนี้ให้นับได้ทั้งนักศึกษาภาคปกติและนักศึกษาภาคพิเศษ
นักศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ให้นับรวมถึงนักศึกษาภาคปกติ ภาคพิเศษ และนักศึกษานอกเวลา ในการคำนวณค่านักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าของระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอก ต้องปรับจำนวนนักศึกษา เต็มเวลาระดับบัณฑิตศึกษาให้เป็นระดับปริญญาตรีเพื่อให้อยู่ในหน่วยวัด (SCALE) เดียวกัน ซึ่งจะทำให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลในภาพรวมของคณะได้ การปรับค่าดังกล่าวมีวิธีการ โดยคำนวณจากสัดส่วนเกณฑ์มาตรฐานระหว่างอาจารย์ต่อนักศึกษาเต็มเวลาระดับปริญญาตรีกับสัดส่วนอาจารย์ต่อนักศึกษาเต็มเวลาระดับบัณฑิตศึกษา ตามเกณฑ์การจัดกลุ่มสาขาวิชามาตรฐานสากล (International Standard Classification of Education : ISCED) ดังตารางต่อไปนี้
ตารางที่ 3 การปรับค่า FTES ในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกให้เป็นหน่วยวัดเดียวกับ FTESระดับปริญญาตรี และค่าปกติของ FTES ระดับปริญญาตรีต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
สาขา |
ตัวปรับค่า
(นำไปคูณกับค่า FTES ระดับปริญญาตรี) |
เกณฑ์ FTES ต่ออาจารย์ประจำ |
1. วิทยาศาสตร์สุขภาพ |
1 |
1 : 8 |
2. วิทยาศาสตร์กายภาพ |
2 |
1 : 20 |
3. วิศวกรรมศาสตร์ |
2 |
1 : 20 |
4. สถาปัตยกรรมศาสตร์ และการผังเมือง |
1 |
1 : 8 |
5. เกษตร ป่าไม้และประมง |
2 |
1 : 20 |
6. บริหารธุรกิจ พาณิชยศาสตร์ บัญชี |
1.8 |
1 : 25 |
7. ครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์ |
1.5 |
1 : 25 |
8. ศิลปกรรมศาสตร์ วิจิตรศิลป์และประยุกต์ศิลป์ |
1.8 |
1 : 8 |
9. สังคมศาสตร์/ มนุษยศาสตร์ |
1.8 |
1 : 25 |
ตัวอย่างในการปรับค่านักศึกษาเต็มเวลาระดับบัณฑิตศึกษาเป็นระดับปริญญาตรี
นักศึกษาเต็มเวลาในหน่วยนับปริญญาตรี |
1. กลุ่มสาขาวิชาวิทยาศาสตร์สุขภาพ |
= FTES ระดับปริญญาตรี + FTES ระดับบัณฑิตศึกษา |
2. กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์กายภาพ |
= FTES ระดับปริญญาตรี + (2 X FTES ระดับบัณฑิตศึกษา) |
3. กลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ |
= FTES ระดับปริญญาตรี + (1.8 X FTES ระดับบัณฑิตศึกษา) |
สูตรการคำนวณ FTES :
ผลรวมของผลคูณระหว่างจำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนกับจำนวนหน่วยกิตที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียน |
จำนวนหน่วยกิตที่เรียนเต็มเวลาในหนึ่งปีการศึกษา |
สูตรการคำนวณ FTES ต่ออาจารย์ประจำ :
FTES |
จำนวนอาจารย์ประจำในปีการศึกษานั้น |
ข้อมูลที่ต้องการ :
1. จำนวนอาจารย์ประจำ ในปีการศึกษานั้น นับเฉพาะอาจารย์ที่ปฏิบัติงานจริง
2. ข้อมูลจำนวนนักศึกษาที่เรียนเต็มเวลา ในปีการศึกษานั้น
3. จำนวนรายวิชาและจำนวนหน่วยกิตของรายวิชาที่สถาบันเปิดสอนและจำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนใน แต่ละรายวิชา โดยจำแนกนักศึกษาตามระดับปริญญาตรีปริญญาโท และปริญญาเอก
ผลการดำเนินงาน
ข้อมูลประกอบการประเมินตัวบ่งชี้ |
ผลการดำเนินงานปีการศึกษา |
เป้าหมาย
ในปีการศึกษา 2550 |
2547 |
2548 |
2549 |
จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า (FTES) |
|
|
|
|
1. ระดับปริญญาตรี |
- |
- |
- |
|
2. ระดับปริญญาโท |
- |
- |
98.55 |
|
3. ระดับปริญญาเอก |
จำนวนอาจารย์ประจำ |
14 |
15 |
15 |
|
|
- |
- |
6.57 :1 |
6.57 : 1 |
เอกสารอ้างอิง
รหัสเอกสารอ้างอิง |
รายการเอกสารอ้างอิง |
49-16A-0602-01 |
เอกสารจำนวนนิสิตประจำปีการศึกษา 2549 |
49-16A-0602-02 |
เอกสารจำนวนอาจารย์ประจำสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ (ดูในส่วนนำ) |
49-16A-0602-03 |
เอกสารค่าจำนวนนิสิตเต็มเวลาหรือเทียบเท่า (FTES) จากกองแผนงาน มศว |
เกณฑ์การให้คะแนน / คะแนนที่ได้
- การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ (คะแนนเต็ม 3 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
|
คะแนนที่ได้ |
1 คะแนน |
2 คะแนน |
3 คะแนน |
1 |
+10% หรือ -10%
ของเกณฑ์ |
6 9.99% และ
-6 (-9.99)% ของเกณฑ์ |
(-5.99) 5.99 %
ของเกณฑ์ |
2.การประเมินอิงพัฒนาการ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
|
คะแนนที่ได้ |
0 คะแนน |
1 คะแนน |
0 |
ไม่มีการพัฒนา |
มีการพัฒนา |
หมายเหตุ
ถ้าผลการประเมินครั้งที่ 2 สูงกว่าผลการประเมินครั้งที่ 1 หรือถ้าผลการประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานครั้งที่ 2 อยู่ในระดับ 3 คะแนน ถือว่ามีการพัฒนา
3. การประเมินประสิทธิผลตามแผนของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
|
คะแนนที่ได้ |
0 คะแนน |
1 คะแนน |
1 |
ไม่บรรลุตามเป้าหมายของแผน |
บรรลุตามเป้าหมายของแผน |
สรุปคะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ 6.2
คะแนนที่ได้จากการประเมิน |
รวมคะแนน |
อิงเกณฑ์มาตรฐาน |
อิงพัฒนาการ |
อิงประสิทธิผลตามแผนฯ |
2 |
1 |
0 |
1 |
ตัวบ่งชี้ |
น้ำหนัก
(1) |
คะแนนที่ได้
(2) |
ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก
(3) = (1) x (2) |
6.2 จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าต่อจำนวนอาจารย์ประจำ |
2 |
2 |
4 |
|