วิธีทำงานวิจัยที่มีคุณภาพ ได้รับรางวัลระดับชาติ
 

 

ตัวบ่งชี้ 6.1    ร้อยละของหลักสูตรที่ได้มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด

ผู้กำกับติดตามตัวบ่งชี้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประทีป  จินงี่
โทรศัพท์  02-6495000  ต่อ  7626

ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล
นางวนิดา  ธรรมเกษร
โทรศัพท์  02-6495000 ต่อ 7642

คำอธิบาย
ร้อยละของหลักสูตรที่สถาบันอุดมศึกษาเปิดสอนที่ได้มาตรฐานหลักสูตรตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ (ตุลาคม พ.ศ. 2548) เมื่อเทียบจากหลักสูตรทั้งหมดที่สถาบันอุดมศึกษาเปิดสอนในปีการศึกษานั้น โดยการนับหลักสูตรที่ได้มาตรฐานหลักสูตร  ให้นับสะสม และการแจงนับให้นับตามสาขาวิชาที่เปิดสอน มิใช่นับตามชื่อปริญญา

สูตรการคำนวณ

จำนวนหลักสูตรที่ได้มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ

 X  100

จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่สถาบันอุดมศึกษาเปิดสอนในปีการศึกษานั้น

ข้อมูลที่ต้องการ :
1. จำนวนหลักสูตรที่ได้มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการทั้งหมด
2. หลักสูตรทั้งหมดที่สถาบันอุดมศึกษาเปิดสอนในปีการศึกษานั้น
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มีหลักสูตร จำนวน  1  หลักสูตร  ทำการปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อ ปี 2545คือ  “หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตและวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต  สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2545”  โดยได้รับการเห็นชอบหลักสูตรจากสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา เมื่อวันที่  5 กุมภาพันธ์  2547   ซึ่งถือเป็นหลักสูตรที่ได้มาตรฐานตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงศึกษาธิการ (ตุลาคม 2548) จำนวน  1  หลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 100  ต่อหลักสูตรที่สถาบันเปิดสอนทั้งหมด
หลักสูตรนี้แบ่งเป็น  2  ระดับ คือ
1.  ระดับปริญญาเอก  วท.ด. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์)
2.  ระดับปริญญาโท    วท.ม. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์)
   ระดับปริญญาเอก   แบ่งเป็น  2  แบบ
แบบ  1   เป็นแบบเน้นวิจัย  ไม่มีวิชาเรียนแต่ต้องทำงานวิจัย 2 เรื่อง (ไม่มีหน่วยกิต) และทำ
ปริญญานิพนธ์  1  เรื่อง  (รวมทั้งหมด  48 หน่วยกิต)  ระยะครบรอบของหลักสูตร 6  ปี
     แบบ  2   เป็นแบบที่มีวิชาเรียน และทำปริญญานิพนธ์  แบ่งเป็น  2  แผนการศึกษาคือ
2.1.  แผนการศึกษาสำหรับผู้เข้าศึกษาด้วยวุฒิปริญญาตรี  ระยะครบรอบของหลักสูตร 8 ปี
2.2. แผนการศึกษาสำหรับผู้เข้าศึกษาด้วยวุฒิปริญญาโท   ระยะครบรอบของหลักสูตร 6 ปี
ระดับปริญญาโท    เป็นแบบมีวิชาเรียน และทำปริญญานิพนธ์   ระยะครบรอบของหลักสูตร 6 ปี

ผลการดำเนินงาน

ข้อมูลประกอบการประเมินตัวบ่งชี้

ผลการดำเนินงาน            ปีการศึกษา

เป้าหมาย
ในปีการศึกษา 2550

2547

2548

2549

1. จำนวนหลักสูตรที่ได้มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวง ศึกษาธิการทั้งหมด

 

 

 

 

    1.1 ระดับปริญญาตรี

-

-

-

 

    1.2 ระดับปริญญาโท

1

1

1

 

    1.3 ระดับปริญญาเอก

1

1

1

 

2. จำนวนหลักสูตรทั้งหมดที่สถาบันอุดมศึกษาเปิดสอนในปีการศึกษานั้น

 

 

 

 

    2.1 ระดับปริญญาตรี

-

-

-

 

    2.2 ระดับปริญญาโท

1

1

1

 

    2.3 ระดับปริญญาเอก

1

1

1

 

3. ร้อยละของหลักสูตรที่ได้มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด

100

100

100

100

เอกสารอ้างอิง

รหัสเอกสารอ้างอิง

รายการเอกสารอ้างอิง

49-16A-0601-01

เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ตุลาคม 2548

49-16A-0601-02

หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตและวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต

49-16A-0601-03

คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2549


เกณฑ์การให้คะแนน / คะแนนที่ได้

  1. การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ (คะแนนเต็ม 3 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

3

ร้อยละ 1 – 79

ร้อยละ 80 – 99

ร้อยละ 100

2.การประเมินอิงพัฒนาการ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

0 คะแนน

1 คะแนน

1

ไม่มีการพัฒนา

มีการพัฒนา

หมายเหตุ
ถ้าผลการประเมินครั้งที่ 2 สูงกว่าผลการประเมินครั้งที่ 1 หรือถ้าผลการประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานครั้งที่ 2 อยู่ในระดับ 3 คะแนน ถือว่ามีการพัฒนา

3.การประเมินประสิทธิผลตามแผนของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

0 คะแนน

1 คะแนน

1

ไม่บรรลุตามเป้าหมายของแผน

บรรลุตามเป้าหมายของแผน

สรุปคะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ 6.1

คะแนนที่ได้จากการประเมิน

รวมคะแนน

อิงเกณฑ์มาตรฐาน

อิงพัฒนาการ

อิงประสิทธิผลตามแผนฯ

5

3

1

1

ตัวบ่งชี้

น้ำหนัก
(1)

คะแนนที่ได้
(2)

ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก
(3) = (1) x (2)

6.1ร้อยละของหลักสูตรที่ได้มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด

2

5

10