วิธีทำงานวิจัยที่มีคุณภาพ ได้รับรางวัลระดับชาติ
 

 

ตัวบ่งชี้ 5.9   ร้อยละของอาจารย์ประจำที่เข้าร่วมประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานวิชาการ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

ผู้กำกับติดตามตัวบ่งชี้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประทีป  จินงี่
โทรศัพท์  0-2649-5000 ต่อ 7626

ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล
นางสาวลักขณา  แซ่ลู้
โทรศัพท์  0-2649-5000 ต่อ 7649

คำอธิบาย
ร้อยละอาจารย์ประจำของสถาบันอุดมศึกษาที่เข้าร่วมประชุมวิชากร หรือนำเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศในปีการศึกษานั้น ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ ทั้งนี้ให้นับอาจารย์ประจำเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ การแจงนับอาจารย์ประจำที่เข้าร่วมประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการ ในแต่ละในปีการศึกษา จะไม่นับซ้ำ ถึงแม้ว่าอาจารย์ผู้นั้นจะเข้าร่วมประชุมวิชาการนำเสนอผลงานหลายครั้ง
ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ประจำ ได้แก่
1. ผลงานทางวิชาการที่ได้มีการศึกษาค้นคว้าตามกระบวนการ ระเบียบวิธีวิจัยที่เหมาะสมกับสาขาวิชา
2. การแสดงออกทางศิลปะอันเป็นที่ยอมรับระดับนานาชาติและระดับชาติ
3. งานที่ได้รับสิทธิบัตร / อนุสิทธิบัตรทั้งในและต่างประเทศ
4. การแสดงความก้าวหน้าทางวิชาการ เสริมสร้างองค์ความรู้หรือวิธีการที่เป็นประโยชน์ต่อสาขาวิชา หรือแสดงความเป็นต้นแบบ ต้นความคิดของผลงาน หรือแสดงความสามารถในการบุกเบิกงานในสาขาวิชานั้น
5. สิ่งประดิษฐ์หรืองานสร้างสรรค์ทางด้านศิลปกรรม และจิตรกรรม

สูตรการคำนวณ

จำนวนอาจารย์ประจำที่เข้าร่วมประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศ ในปีการศึกษานั้น

 X  100

จำนวนอาจารย์ประจำ ในปีการศึกษานั้น

ข้อมูลที่ต้องการ :
1. จำนวนอาจารย์ประจำ ในปีการศึกษานั้น เฉพาะอาจารย์ที่ปฏิบัติงานจริง
2. จำนวนอาจารย์ประจำที่นำเสนอผลงานทางวิชาการในประเทศ ในปีการศึกษานั้น
3. จำนวนอาจารย์ประจำที่นำเสนอผลงานทางวิชาการในต่างประเทศ ในปีการศึกษานั้น

ผลการดำเนินงาน

ข้อมูลประกอบการประเมินตัวบ่งชี้

ผลการดำเนินงานปีการศึกษา

เป้าหมาย
ในปีการศึกษา 2550

2547

2548

2549

จำนวนอาจารย์ประจำที่นำเสนอผลงานทางวิชาการ            ในประเทศ ในปีการศึกษานั้น

4

8

5

 

จำนวนอาจารย์ประจำที่นำเสนอผลงานทางวิชาการ            ในต่างประเทศ ในปีการศึกษานั้น

5

4

5

 

จำนวนอาจารย์ประจำที่เข้าร่วมประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานทางวิชาการทั้งในและต่างประเทศ ในปีการศึกษานั้น

9

12

10

 

จำนวนอาจารย์ประจำ ในปีการศึกษานั้น

16

15

15

 

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่เข้าร่วมประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานวิชาการ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

56.25%

80%

66.67%

66.67%

รายละเอียดเพิ่มเติม
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์  มีบุคลากรสายวิชาการ  ในปีการศึกษา  2547  จำนวน  16  คน  ในปีการศึกษา  2548  และ  2549  จำนวน  15  คน  (รองศาสตราจารย์ ดร.ผจงจิต  อินทสุวรรณ  เกษียณอายุราชการ  ณ  1  ตุลาคม  2547  จำนวน  1  คน)  
ในปีการศึกษา  2549  อาจารย์สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์  ได้เข้าร่วมประชุม  สัมมนา  เสนอผลงานวิจัยและศึกษาดูงานในต่างประเทศ  จำนวน  5  คน  และในประเทศ  จำนวน  5  คน  รวมทั้งสิ้น  10 คน  จากอาจารย์ทั้งหมด จำนวน 15 คน  คิดเป็นร้อยละ  66.67

เอกสารอ้างอิง

รหัสเอกสารอ้างอิง

รายการเอกสารอ้างอิง

49–16A–0509-01

รายชื่อบุคลากรสายวิชาการ  สังกัดสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์

49–16A–0509-02

สรุปรายชื่ออาจารย์ประจำที่เข้าร่วมประชุม  สัมมนา   เสนอผลงานวิจัย  และศึกษา ดูงานทั้งในและต่างประเทศ  ประจำปีการศึกษา  2549

49–16A–0509-03

นางวิลาสลักษณ์  ชัววัลลี  เข้าร่วมประชุมในโครงการวิจัย  เรื่อง  “Cross  cultural Study  of  Gratitude  toward  nature  between  Japan  and Thailand”  ณ  ประเทศญี่ปุ่น  ตั้งแต่วันที่  29  กรกฎาคม  2549 – 4  สิงหาคม  2549

49–16A–0509-04

นางอัจฉรา  สุขารมณ์  เข้าร่วมประชุมวิชาการ  “The  26th International  Congress  of  Applied  Psychology  (ICAP  2006)  ณ  เมืองเอเธน  ประเทศสาธารณรัฐ เฮลเลนิก  (ประเทศกรีซ)  ระหว่างวันที่  16 – 21  กรกฎาคม  2549

49–16A–0509-05

นางดุษฎี  โยเหลา  เสนอผลงานวิจัย  เรื่อง  “A  Comparison  Study  on  Students’Career  Aspiration  Between  Gifted  Students  in  Special  Science  School  and  Gifted  Students  in  Regular  School  With  Special  Program  in  Science  and  Technology”  ในงาน  The  9th  Asia – Pacific  Conference  on  Giftedness ระหว่างวันที่  31  กรกฎาคม  2549 -  4  สิงหาคม  2549  ณ  ประเทศไต้หวัน

49–16A–0509-06

นางลัดดาวัลย์  เกษมเนตร  และ  นายประทีป  จินงี่  เสนอผลงานวิจัย  เรื่อง              “A  Study  of  Talented  Behaviors  and  Related  Backgrounds  in  Young  Highly  Gifted  Children”  ในงาน  The  9th  Asia – Pacific  Conference  on  Giftedness
ระหว่างวันที่  31  กรกฎาคม  2549 -  4  สิงหาคม  2549  ณ  ประเทศไต้หวัน

49–16A–0509-07

นางงามตา  วนินทานนท์  เข้าร่วมประชุมวิชาการ  ครั้งที่  6  เรื่อง  “จิตวิทยากับการพัฒนามนุษย์  :  ความงดงามของผู้สูงวัย”  วันที่  24  พฤศจิกายน  2549  ณ  อาคารสถาบัน 3  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

49–16A–0509-08

นางอ้อมเดือน  สดมณี    เข้าร่วมประชุมในเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้  “โครงการสนับสนุนทุนวิทยานิพนธ์ด้านนโยบายสาธารณะ  ครั้งที่ 1 / 2549”  ในวันที่  30  ตุลาคม  2549  ณ  ห้องประชุมดินแดง    ชั้น  4  โรงแรมปริ้นส์ตั้นพาร์คสวีท  กรุงเทพ ฯ

49–16A–0509-09

นางพรรณี  บุญประกอบ  และ  นายยุทธนา  ไชยจูกุล  เข้าร่วมประชุมสัมมนา  เรื่อง “วิสัยทัศน์และแนวทางการบริหารจัดการเพื่อพัฒนาเป็นโรงพยาบาลจัดการเรียนการสอนและวิจัย”  วันที่  19  มิถุนายน  2549  ณ  ห้องประชุมชั้น  2  อาคารวิจัยและการศึกษาต่อเนื่อง  สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

49–16A–0509-10

นายสธญ  ภู่คง  เข้าร่วมประชุมในวันครอบครัว  ปี  2550  “สมัชชาครอบครัว  สู่สังคมร่มเย็นเป็นสุข”  วันที่  5 – 6  เมษายน  2550  ณ  สโมสรทหารบก ถนนวิภาวดี  กรุงเทพ ฯ

เกณฑ์การให้คะแนน / คะแนนที่ได้

  1. การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ (คะแนนเต็ม 3 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

3

ร้อยละ 1 – 39

ร้อยละ 40 – 59

 ร้อยละ 60

2.การประเมินอิงพัฒนาการ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

0 คะแนน

1 คะแนน

1

ไม่มีการพัฒนา

มีการพัฒนา

หมายเหตุ
ถ้าผลการประเมินครั้งที่ 2 สูงกว่าผลการประเมินครั้งที่ 1 หรือถ้าผลการประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานครั้งที่ 2 อยู่ในระดับ 3 คะแนน ถือว่ามีการพัฒนา

3.การประเมินประสิทธิผลตามแผนของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์   (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

0 คะแนน

1 คะแนน

1

ไม่บรรลุตามเป้าหมายของแผน

บรรลุตามเป้าหมายของแผน

สรุปคะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ 5.9

คะแนนที่ได้จากการประเมิน

รวมคะแนน

อิงเกณฑ์มาตรฐาน

อิงพัฒนาการ

อิงประสิทธิผลตามแผนฯ

5

3

1

1

ตัวบ่งชี้

น้ำหนัก
(1)

คะแนนที่ได้
(2)

ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก
(3) = (1) x (2)

5.9  ร้อยละของอาจารย์ประจำที่เข้าร่วมประชุมวิชาการหรือนำเสนอผลงานวิชาการ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

1.67

5

8.35