วิธีทำงานวิจัยที่มีคุณภาพ ได้รับรางวัลระดับชาติ
 

 

ตัวบ่งชี้ 5.7   ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจำนวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า)

ผู้กำกับติดตามตัวบ่งชี้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประทีป  จินงี่
โทรศัพท์  0-2649-5000 ต่อ 7626

ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล
นางสาวลักขณา  แซ่ลู้
โทรศัพท์  0-2649-5000 ต่อ 7649

คำอธิบาย
ค่าใช้จ่ายที่สถาบันอุดมศึกษาใช้ในการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาตรีต่อหัว จำแนกตามกลุ่มสาขา
ค่าใช้จ่ายทั้งหมด หมายถึง งบหมวดเงินเดือน ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย ค่าวัสดุ ค่าสาธารณูปโภค เงินอุดหนุน และค่าเสื่อมราคา ทั้งนี้ให้คิดตามปีงบประมาณ
เกณฑ์ปกติของค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า
1. วิทยาศาสตร์สุขภาพ                 
-  แพทยศาสตร์                                                                                    (395,208 บาทต่อคน)
-  เภสัชศาสตร์                                                                                     (127,152 บาทต่อคน)
-  ทันตแพทยศาสตร์                                                                           (327,426 บาทต่อคน)
-  พยาบาลศาสตร์                                                                                (102,880 บาทต่อคน)
-  เทคนิคการแพทย์  /  สาธารณสุขศาสตร์  /  สหเวชศาสตร์     (119,905 บาทต่อคน)
2. วิทยาศาสตร์กายภาพ                                                                    (66,338 บาทต่อคน)
3. วิศวกรรมศาสตร์                                                                           (70,312 บาทต่อคน)
4. สถาปัตยกรรมศาสตร์                                                               (71,394 บาทต่อคน)
5. เกษตรศาสตร์                                                                          (109,910 บาทต่อคน)
6. บริหารธุรกิจฯ                                                                         (62,532 บาทต่อคน)
7. ครุศาสตร์                                                                               (90,610 บาทต่อคน)
8. ศิลปกรรมศาสตร์                                                                     (65,494 บาทต่อคน)
9. สังคมศาสตร์                                                                           (45,457 บาทต่อคน)


สูตรการคำนวณ

ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า) ระดับสถาบัน

เกณฑ์ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า ระดับสถาบันแต่ละแห่ง

สูตรการหา ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า) ระดับสถาบัน

ผลรวมของผลคูณของค่าใช้จ่ายต่อหัวระดับกลุ่มสาขาววิชา x FTES ของกลุ่มสาขาวิชานั้น

ผลรวมของ FTES ของทุกกลุ่มสาขาวิชาที่สถาบันนั้นเปิดสอน

สูตรการหาเกณฑ์ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า) ระดับสถาบันแต่ละแห่ง

ผลรวมผลคูณของเกณฑ์ค่าใช้จ่ายต่อหัวระดับกลุ่มสาขาวิชา x FTES ของกลุ่มสาขาวิชานั้น

ผลรวมของ FTES ของทุกกลุ่มสาขาวิชาที่สถาบันนั้นเปิดสอน

ข้อมูลที่ต้องการ :
1. ค่าใช้จ่ายทั้งหมดในปีงบประมาณนั้น จำแนกตามกลุ่มสาขาวิชา
2. จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า ในปีงบประมาณนั้น
ผลการดำเนินงาน


ข้อมูลประกอบการประเมินตัวบ่งชี้

ผลการดำเนินงาน           
ปีการศึกษา

เป้าหมาย
ในปีการศึกษา 2550

2547

2548

2549

ค่าใช้จ่ายทั้งหมด  ต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าระดับสถาบัน

-

-

124,187.54

ร้อยละ 10

จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าในปีงบประมาณ

-

-

98.55

 

เกณฑ์ค่าใช้จ่ายทั้งหมด  ต่อจำนวนนักศึกษา
(เต็มเวลาเทียบเท่า)  ระดับสถาบันแต่ละแห่ง

-

-

45,457

 

รายละเอียดเพิ่มเติม
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์  มีงบดำเนินการในปีงบประมาณ  พ.ศ. 2549  เป็นงบประมาณแผ่นดิน  9,746,299.82  บาท  งบประมาณเงินรายได้   2,492,382.83  บาท  รวมเป็นเงินทั้งสิ้น  12,238,682.65 บาท   (สิบสองล้านสองแสนสามหมื่นแปดพันหกร้อยแปดสิบสองบาทหกสิบห้าสตางค์และจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า  (FTES)  ในปีการศึกษา  2549  เฉลี่ยปรับเป็นปริญญาตรี  98.55  เกณฑ์ปกติของค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า  สังคมศาสตร์  45,457 บาท / คน

สูตรการคำนวณ

ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า) ระดับสถาบัน

เกณฑ์ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า ระดับสถาบันแต่ละแห่ง

ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของสถาบัน            =  12,238,682.65
จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าปริญญาตรี  =    98.55
ค่าใช้จ่ายทั้งหมด  ต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าระดับสถาบัน 

12,238,682.65
98.55
=  124,187.54

เกณฑ์ปกติของค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าระดับกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์                  =   45,457

ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าที่เกินจากเกณฑ์ปกติ คิดเป็น
=  124,187.54-45,457
=    78,730.54

คำนวณร้อยละค่าใช้จ่ายทั้งหมดของนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าที่เกินจากเกณฑ์ปกติเมื่อเทียบกับเกณฑ์ปกติของค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าระดับกลุ่มสาขาวิชามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
=     78,730.54 x 100
cccccc45,457
=    173.19%
ดังนั้น ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าคิดเป็น  173.19% ของเกณฑ์

เอกสารอ้างอิง

รหัสเอกสารอ้างอิง

รายการเอกสารอ้างอิง

49–16A–0507-01

สรุปงบดำเนินการและงบดำเนินการคงเหลือสุทธิในปีงบประมาณ  2549, 2548, 2547

49–16A–0507-02

รายงานการวิเคราะห์จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่าในปีการศึกษา  2549, 2548, 2547

เกณฑ์การให้คะแนน / คะแนนที่ได้

  1. การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ (คะแนนเต็ม 3 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

1

d+10% หรือ d-10% ของเกณฑ์

5 – 9.99% และ -5-(-9.99)% ของเกณฑ์

(-4.99) - 4.99% ของเกณฑ์

2. การประเมินอิงพัฒนาการ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

0 คะแนน

1 คะแนน

0

ไม่มีการพัฒนา

มีการพัฒนา

หมายเหตุ
ถ้าผลการประเมินครั้งที่ 2 สูงกว่าผลการประเมินครั้งที่ 1 หรือถ้าผลการประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานครั้งที่ 2 อยู่ในระดับ 3 คะแนน ถือว่ามีการพัฒนา

3.การประเมินประสิทธิผลตามแผนของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์   (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

0 คะแนน

1 คะแนน

0

ไม่บรรลุตามเป้าหมายของแผน

บรรลุตามเป้าหมายของแผน

สรุปคะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ 5.7

คะแนนที่ได้จากการประเมิน

รวมคะแนน

อิงเกณฑ์มาตรฐาน

อิงพัฒนาการ

อิงประสิทธิผลตามแผนฯ

1

1

0

0

ตัวบ่งชี้

น้ำหนัก
(1)

คะแนนที่ได้
(2)

ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก
(3) = (1) x (2)

5.7  ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจำนวนนักศึกษา (เต็มเวลาเทียบเท่า)

16.7

1

16.7