ตัวบ่งชี้ 5.11 ร้อยละของบุคลากรประจำสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
ผู้กำกับติดตามตัวบ่งชี้
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประทีป จินงี่
โทรศัพท์ 0-2649-5000 ต่อ 7626 |
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล
นางสาวลักขณา แซ่ลู้
โทรศัพท์ 0-2649-5000 ต่อ 7649 |
คำอธิบาย
ร้อยละของบุคลากรประจำสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ ต่อบุคลากรประจำสายสนับสนุนทั้งหมด โดยนับรวมบุคลากรที่ลาศึกษาต่อด้วย แต่จะไม่นับซ้ำแม้ว่าบุคลากรสายสนับสนุนท่านนั้น จะได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพหลายครั้งในปีการศึกษานั้นก็ตาม
บุคลากรสายสนับสนุน (Non-academic) หมายถึง บุคลากรสายช่วยวิชาการ สายการจัดการและธุรการ
การพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพ ได้แก่
1. การส่งบุคลากรสายสนับสนุนไปศึกษาต่อ
2. การส่งบุคลากรสายสนับสนุนไปอบรม สัมมนาหรือดูงาน
3. การฝึกอบรมที่สถาบันจัดขึ้นเอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรสายสนับสนุน
สูตรการคำนวณ
จำนวนบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้
และทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศและต่างประเทศในปีการศึกษานั้น |
X 100 |
จำนวนบุคลากรสายสนับสนุนในปีการศึกษานั้น |
ข้อมูลที่ต้องการ :
1. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุนในปีการศึกษานั้น นับรวมบุคลากรสายสนับสนุนที่ลาศึกษาต่อด้วย
2. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะในวิชาชีพในประเทศ ในปีการศึกษานั้น
3. จำนวนบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะในวิชาชีพในต่างประเทศ ในปีการศึกษานั้น
ผลการดำเนินงาน
ข้อมูลประกอบการประเมินตัวบ่งชี้ |
ผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา |
เป้าหมาย
ในปีการศึกษา 2550 |
2547 |
2548 |
2549 |
จำนวนบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะในวิชาชีพในประเทศ ในปีการศึกษานั้น |
- |
- |
- |
|
จำนวนบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะในวิชาชีพในต่างประเทศ ในปีการศึกษานั้น |
11 |
12 |
12 |
|
จำนวนบุคลากรสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะในวิชาชีพทั้งในประเทศและต่างประเทศในปีการศึกษานั้น |
11 |
12 |
12 |
|
จำนวนบุคลากรสายสนับสนุนในปีการศึกษานั้น นับรวมบุคลากรสายสนับสนุนที่ลาศึกษาต่อด้วย |
15 |
16 |
16 |
|
ร้อยละของบุคลากรประจำสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ |
73.33% |
75% |
75% |
75% |
รายละเอียดเพิ่มเติม
สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มีบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ ในปีการศึกษา 2547 จำนวน 15 คน ในปีการศึกษา 2548 และ 2549 จำนวน 16 คน (เพิ่ม นางสาววาสนา วงษ์เพชร พนักงานมหาวิทยาลัย ตำแหน่งนักวิชาการคอมพิวเตอร์ จำนวน 1 คน)
ในปีการศึกษา 2549 มหาวิทยาลัยได้อนุมัติให้สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ นำบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการไปศึกษาดูงานด้านระบบการบริหารจัดการภายในสำนักงาน ณ The Chinese University of Hong Kongประเทศฮ่องกง มีกำหนด 3 วัน ตั้งแต่วันที่ 11 13 กันยายน 2549 จำนวน 12 คน จากบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการทั้งหมด จำนวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 75
เอกสารอ้างอิง
รหัสเอกสารอ้างอิง |
รายการเอกสารอ้างอิง |
4916A0511-01 |
รายชื่อบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ สังกัดสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ |
4916A0511-02 |
รายชื่อผู้ได้รับอนุมัติไปศึกษาดูงาน ณ The Chinese University of Hong Kong ประเทศฮ่องกง ประจำปีการศึกษา 2549 |
4916A0511-03 |
รายชื่อผู้ได้รับอนุมัติไปศึกษาดูงาน ณ Nanyang Polytechnic ประเทศสิงคโปร์ประจำปีการศึกษา 2548 |
4916A0511-04 |
รายชื่อผู้ได้รับอนุมัติไปศึกษาดูงาน ณ Meiji University ประเทศญี่ปุ่น ประจำปีการศึกษา 2547 |
เกณฑ์การให้คะแนน / คะแนนที่ได้
- การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ (คะแนนเต็ม 3 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
|
คะแนนที่ได้ |
1 คะแนน |
2 คะแนน |
3 คะแนน |
2 |
ร้อยละ 1 54 |
ร้อยละ 55 79 |
ร้อยละ 80 |
2.การประเมินอิงพัฒนาการ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
|
คะแนนที่ได้ |
0 คะแนน |
1 คะแนน |
0 |
ไม่มีการพัฒนา |
มีการพัฒนา |
หมายเหตุ
ถ้าผลการประเมินครั้งที่ 2 สูงกว่าผลการประเมินครั้งที่ 1 หรือถ้าผลการประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานครั้งที่ 2 อยู่ในระดับ 3 คะแนน ถือว่ามีการพัฒนา
3. การประเมินประสิทธิผลตามแผนของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
|
คะแนนที่ได้ |
0 คะแนน |
1 คะแนน |
1 |
ไม่บรรลุตามเป้าหมายของแผน |
บรรลุตามเป้าหมายของแผน |
สรุปคะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ 5.11
คะแนนที่ได้จากการประเมิน |
รวมคะแนน |
อิงเกณฑ์มาตรฐาน |
อิงพัฒนาการ |
อิงประสิทธิผลตามแผนฯ |
3 |
2 |
0 |
1 |
ตัวบ่งชี้ |
น้ำหนัก
(1) |
คะแนนที่ได้
(2) |
ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก
(3) = (1) x (2) |
5.11 ร้อยละของบุคลากรประจำสายสนับสนุนที่ได้รับการพัฒนาความรู้ และทักษะในวิชาชีพ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ |
1.67 |
3 |
5.01 |
|