วิธีทำงานวิจัยที่มีคุณภาพ ได้รับรางวัลระดับชาติ
 

 

ตัวบ่งชี้ 3.4    ค่าใช้จ่าย และมูลค่าของสถาบันในการบริการวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคมต่ออาจารย์ ประจำ

ผู้กำกับติดตามตัวบ่งชี้

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประทีป  จินงี่

โทรศัพท์  0-2649-5000 ต่อ 7626

ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล

นางสุพรรณา  หนูรักษ์ และ นางสาวศิรินันท์  แสงสิงห์

โทรศัพท์ 0-2649-5000 ต่อ 7612, 7611

คำอธิบาย
จำนวนค่าใช้จ่ายและมูลค่าที่ใช้กับทุกโครงการ/ กิจกรรมในการบริการวิชาการและวิชาชีพแก่ชุมชนสังคม โดยไม่เรียกเก็บเงินใดๆ จากผู้รับบริการ ต่ออาจารย์ประจำ ทั้งนี้ให้นับอาจารย์ประจำเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ ในการนับโครงการ/ กิจกรรมในการบริการวิชาการและวิชาชีพแก่ชุมชนสังคมที่ไม่เรียกเก็บเงินใดๆ จากผู้รับบริการ ให้นับรวมถึงโครงการ/ กิจกรรมในการบริการวิชาการและวิชาชีพแก่ชุมชนสังคม ที่มีการเรียกเก็บเงินจาก
ผู้รับบริการในลักษณะที่ไม่เป็นการดำเนินการในเชิงธุรกิจหรือการดำเนินการเพื่อมุ่งแสวงหาผลกำไรเป็นหลัก ได้ด้วย
ค่าใช้จ่าย (in-cash) หมายถึง ค่าใช้จ่ายทั้งหมดในรูปของตัวเงินที่ใช้ในการบริการวิชาการและวิชาชีพ
มูลค่า (in-kind) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ได้จากการคำนวณเป็นจำนวนเงินเทียบเคียงจากบริการที่สถาบันจัดให้ เช่น ค่าตอบแทนวิทยากรที่เป็นบุคลากรของสถาบัน ค่าใช้อุปกรณ์และสถานที่  เป็นต้น

สูตรการคำนวณ

ค่าใช้จ่ายและมูลค่าของสถาบันในการบริการวิชาการเพื่อสังคมในปีการศึกษานั้น

จำนวนอาจารย์ประจำในปีการศึกษานั้น

ข้อมูลที่ต้องการ :
1.    จำนวนค่าใช้จ่ายที่สถาบันใช้ไปในการให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพแก่ชุมชนหรือสังคมในแต่ละปีการศึกษา
2.    มูลค่าที่เกิดขึ้นจากการที่อาจารย์ประจำของสถาบันได้ให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพแก่ชุมชนหรือสังคมในแต่ละปีการศึกษา รวมทั้งค่าวัสดุอุปกรณ์ และค่าแรงงานที่ใช้เพื่อประกอบการให้บริการวิชาการในปีการศึกษานั้น
3.    จำนวนอาจารย์ประจำในปีการศึกษานั้น ทั้งนี้ให้นับอาจารย์ประจำเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง ไม่นับรวม อาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ


ผลการดำเนินงาน

ข้อมูลประกอบการประเมินตัวบ่งชี้

ผลการดำเนินงาน
ปีการศึกษา

เป้าหมาย
ในปีการศึกษา 2550

2547

2548

2549

จำนวนค่าใช้จ่ายที่สถาบันใช้ไปในการให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพแก่ชุมชนหรือสังคมในแต่ละปีการศึกษา

197,557.99

455,064.64

380,290.54

400,000.-

มูลค่าที่เกิดขึ้นจากการที่อาจารย์ประจำของสถาบันได้ให้บริการทางวิชาการและวิชาชีพแก่ชุมชนหรือสังคมในแต่ละปีการศึกษา รวมทั้งค่าวัสดุอุปกรณ์ และค่าแรงงานที่ใช้เพื่อประกอบการให้บริการวิชาการในปีการศึกษานั้น

3,050.00

120,350.00

11,200.00

-

ค่าใช้จ่ายและมูลค่าของสถาบันในการบริการวิชาการเพื่อสังคมในปีการศึกษานั้น

200,607.99

575,414.76

391,490.54

-

จำนวนอาจารย์ประจำในปีการศึกษานั้น ทั้งนี้ให้นับอาจารย์ประจำเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง ไม่นับรวม อาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ

13 คน

15 คน

15 คน

-

ค่าใช้จ่ายและมูลค่าของสถาบันในการบริการวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคมต่ออาจารย์ประจำ

15,431.38

38,360.98

26,099.36

-


 

เอกสารอ้างอิง

รหัสเอกสาร

รายชื่อเอกสารอ้างอิง

49-16A-0304-01

สรุปงบประมาณโครงการบริการวิชาการ ปี 2549

49-16A-0304-02

รายละเอียดโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน (บก.19) จำนวน 4 โครงการย่อย

49-16A-0304-03

รายงานประจำปี 2549 ของ บก.19


 

เกณฑ์การให้คะแนน / คะแนนที่ได้

  1. การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ (คะแนนเต็ม 3 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

3

1 – 4,999 บาท

5,000 – 7,499 บาท

 7,500 บาท

2. การประเมินอิงพัฒนาการ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

0 คะแนน

1 คะแนน

1

ไม่มีการพัฒนา

มีการพัฒนา

หมายเหตุ
ถ้าผลการประเมินครั้งที่ 2 สูงกว่าผลการประเมินครั้งที่ 1 หรือถ้าผลการประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานครั้งที่ 2 อยู่ในระดับ 3 คะแนน ถือว่ามีการพัฒนา

3.การประเมินประสิทธิผลตามแผนของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

0 คะแนน

1 คะแนน

1

ไม่บรรลุตามเป้าหมายของแผน

บรรลุตามเป้าหมายของแผน

สรุปคะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ 3.4

คะแนนที่ได้จากการประเมิน

รวมคะแนน

อิงเกณฑ์มาตรฐาน

อิงพัฒนาการ

อิงประสิทธิผลตามแผนฯ

5

3

1

1

 

ตัวบ่งชี้

น้ำหนัก
(1)

คะแนนที่ได้
(2)

ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก
(3) = (1) x (2)

3.4  ค่าใช้จ่าย และมูลค่าของสถาบันในการบริการวิชาการและวิชาชีพเพื่อสังคมต่ออาจารย์ ประจำ

4

5

20