วิธีทำงานวิจัยที่มีคุณภาพ ได้รับรางวัลระดับชาติ
 

 

ตัวบ่งชี้ 3.1   ร้อยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ

ผู้กำกับติดตามตัวบ่งชี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประทีป  จินงี่

โทรศัพท์  0-2649-5000 ต่อ 7626

ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล นางสาวกรรณิการ์  สุขศรี

โทรศัพท์ 0-2649-5000 ต่อ 7646

คำอธิบาย
ร้อยละของกิจกรรม หรือโครงการที่สถาบันได้จัดขึ้นเพื่อให้บริการทางวิชาการแก่สังคมและชุมชน หรือเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ หรือ นานาชาติต่อจำนวนอาจารย์ประจำ รวมถึงการบริการวิชาการที่มีค่าตอบแทนและบริการวิชาการแบบให้เปล่า ทั้งนี้การนับอาจารย์ประจำให้นับอาจารย์ประจำเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ
- ลักษณะการบริการวิชาการ มีดังนี้
1) บริการวิเคราะห์ ทดสอบ ตรวจสอบ และตรวจซ่อม
2) บริการเครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ ทางการศึกษา
3) บริการจัดฝึกอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบัติการแบบเก็บค่าลงทะเบียน
4) บริการจัดฝึกอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบัติการแบบให้เปล่า
5) บริการจัดฝึกอบรม สัมมนา และประชุมเชิงปฏิบัติการในลักษณะการว่าจ้าง
6) บริการเกี่ยวกับสุขภาพที่นอกเหนือจากหน้าที่ความรับผิดชอบโดยตรงของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
7) บริการศึกษา วิจัย สำรวจ การวางแผน การจัดการ
8) บริการศึกษาความเหมาะสมของโครงการการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อม
9) บริการวางระบบ ออกแบบ สร้าง ประดิษฐ์ และผลิต
10) บริการอื่น ๆ ทั้งนี้ไม่นับรวมการเป็นวิทยากรที่ไม่ได้อยู่ในแผนของสถาบัน
- การให้บริการวิชาการ หมายถึง การที่สถาบันการศึกษาและสถาบันอยู่ในฐานะที่เป็นที่พึ่งของชุมชน หรือเป็นแหล่งอ้างอิงทางวิชาการ หรือทำหน้าที่ใดๆที่มีผลต่อการพัฒนาขึ้นของชุมชนในด้านวิชาการหรือการพัฒนาความรู้ ตลอดจนความเข้มแข็งของชุมชน ประเทศชาติและนานาชาติ
- โครงการบริการวิชาการที่มีผลต่อการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน  หมายถึง โครงการบริการวิชาการที่สถาบันจัดขึ้น หรือดำเนินการขึ้นแล้วมีผลก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นแก่ชุมชนในด้านต่างๆ และทำให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ตามศักยภาพของตน เช่น การให้ความรู้เกี่ยวกับโครงการตามพระราชดำริ การอบรมเพื่อพัฒนาความสามารถของชุมชนในด้านการเกษตร ฯลฯ โดยหากโครงการใดมีกิจกรรมย่อยแทรกอยู่ในหนึ่งโครงการ ให้สามารถนับกิจกรรมย่อยแทนการนับโครงการได้
สูตรการคำนวณ

จำนวนกิจกรรม หรือโครงการที่สถาบันได้จัดขึ้นเพื่อให้บริการทางวิชาการแก่สังคมและชุมชน หรือเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ หรือ นานาชาติ ในปีการศึกษานั้น

 

X

100

จำนวนอาจารย์ประจำในปีการศึกษานั้น

ข้อมูลที่ต้องการ :
1. จำนวนกิจกรรม หรือโครงการที่สถาบันได้จัดขึ้นเพื่อให้บริการทางวิชาการแก่สังคมและชุมชน หรือเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ หรือ นานาชาติ ในปีการศึกษานั้น
2. จำนวนอาจารย์ประจำในปีการศึกษานั้น ทั้งนี้การนับอาจารย์ประจำให้นับอาจารย์ประจำเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ
หมายเหตุ
1. กรณี 1 โครงการหรือกิจกรรมมีการจัดหลายครั้ง ให้นับทุกครั้งหากกลุ่มเป้าหมายแตกต่างกัน
2. กรณีบริการวิชาการ 1 โครงการหรือกิจกรรม มีหลายกลุ่มสาขาวิชาหรือหลายหน่วยงานช่วยกันดำเนินโครงการ ให้นับแยกได้
3. กรณีบริการวิชาการที่จัดขึ้นโดยหน่วยงานภายนอกและขอความร่วมมือให้สถาบันส่งคณาจารย์ไปช่วย ให้รายงานเป็นโครงการ 1 โครงการตามชื่อโครงการ

ผลการดำเนินงาน

ข้อมูลประกอบการประเมินตัวบ่งชี้

ผลการดำเนินงานปีการศึกษา

เป้าหมาย
ในปีการศึกษา 2550

2547

2548

2549

จำนวนกิจกรรม หรือโครงการที่สถาบันได้จัดขึ้นเพื่อให้บริการทางวิชาการแก่สังคมและชุมชน หรือเพื่อตอบสนองความต้องการของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ หรือ นานาชาติ ในปีการศึกษานั้น

6*

14*

17

 

จำนวนอาจารย์ประจำในปีการศึกษานั้น ทั้งนี้การนับอาจารย์ประจำให้นับอาจารย์ประจำเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง ไม่นับรวมอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อ

14

15

15

 

ร้อยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ

42.86

93.33

113.33

100%

รายละเอียดเพิ่มเติม*
การนับจำนวนโครงการ/กิจกรรมที่สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ได้จัดขึ้นเพื่อให้บริการวิชาการในปีการศึกษา 2547, 2548 และ 2549 จะใช้ข้อมูลที่แตกต่างกัน คือ รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปี 2547 และ 2548 การนับจำนวนจะนับรวมการเป็นวิทยากร/อาจารย์พิเศษภายนอกด้วย  แต่ในปีการศึกษา 2549  การนับจำนวนจะไม่รวมถึงการเป็นวิทยากร/อาจารย์พิเศษภายนอก

การเปรียบเทียบจำนวนกิจกรรม/โครงการในตารางผลการดำเนินงาน
SAR 47
-กรณีนับรวมการเป็นวิทยากร จะมีจำนวน     43  กิจกรรม/โครงการ
-กรณีไม่นับรวมการเป็นวิทยากร จะมีจำนวน                6*   กิจกรรม/โครงการ
SAR 48
-กรณีนับรวมการเป็นวิทยากร จะมีจำนวน     49  กิจกรรม/โครงการ
-กรณีไม่นับรวมการเป็นวิทยากร จะมีจำนวน                14*  กิจกรรม/โครงการ
หมายเหตุ   เพื่อให้สามารถนำข้อมูลใน รายงานการประเมินตนเอง (SAR) ปี 2547 และ 2548 มาเปรียบเทียบกับปีการศึกษา 2549 ในช่องผลการดำเนินงานปี 2547 และ 2548 จำนวนกิจกรรม/โครงการ จะไม่นับรวมการเป็นวิทยากร/อาจารย์พิเศษภายนอก


รายชื่อกิจกรรม/โครงการบริการ
ที่สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์จัดขึ้นในปีการศึกษา 2549

ลำดับที่

กิจกรรม/โครงการ

ระยะเวลาดำเนินการ

1

โครงการเครือข่ายครอบครัวเข้มแข็งใส่ใจสุขภาพ

ธ.ค. 49 - ก.ย. 50

2

โครงการพัฒนาครอบครัวเข้มแข็งและเยาวชนคุณภาพด้วยเครือข่ายครอบครัว-โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัดนครนายก : พัฒนาจริยธรรม

ต.ค. 49 - ก.ย. 50

3

โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีแก่นักเรียนที่อยู่ในสภาวะเสี่ยงทางครอบครัว

ก.พ. 50 -  ก.ย. 50

4

โครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน เรื่อง “การพัฒนาความสามารถทางอารมณ์และสังคมของนักเรียนชั้นประถมศึกษา”

ม.ค. 50 - ก.ย. 50

5

กิจกรรมโพชฌงคปริตรเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช  ทรงครองสิริราชสมบัติครอบ 50 ปี

เม.ย. 49-ต.ค.49

6

โครงการจัดประชุมวิชาการทางพฤติกรรมศาสตร์ (ในโอกาสครบรอบ 51 ปีสถาบัน)

25 ส.ค. 49

7

โครงการบริการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์  ปีที่ 7

10 พ.ย. 48-30 ก.ย. 49

 


รายชื่อกิจกรรม/โครงการบริการ
ที่สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์จัดขึ้นในปีการศึกษา 2549

ลำดับที่

กิจกรรม/โครงการ

ระยะเวลาดำเนินการ

8

โครงการ “งานวันรวมใจ  เสริมสร้างสุขพลานามัย”

3 ก.ย. 49

9

โครงการบริการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์  ปีที่ 8

23 พ.ย. 49 - 30 ก.ย. 50

10

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการทางพฤติกรรมศาสตร์ เรื่อง “การวิจัยเชิงคุณภาพ”

10 - 19 ม.ค. 50

11

โครงการพัฒนาศักยภาพนิสิต ครั้งที่ 1 หัวข้อ “จะเขียนบทความวิชาการตาม APA Style เขียนอย่างไร”

15 ก.พ. 50

12

โครงการบรรยายธรรม เรื่อง “การฝึกสมาธิ เพื่อการผ่อนคลาย แบบสบายๆ”

19 ก.พ. 50

13

โครงการฝึกอบรม เรื่อง สถิติเพื่อการวิจัยและการแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์  รุ่นที่ 10”

30 เม.ย. 50 - 9 พ.ค. 50

14

หนังสือขอความอนุเคราะห์เครื่องมือวิจัย บริการแบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ ของ นางสาวกฤดา  สถิตศิลาธรรม  นิสิตบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

23 พ.ย. 49
(จม.ขอใช้เครื่องมือวิจัย)

15

หนังสือขอความอนุเคราะห์เครื่องมือวิจัย บริการแบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ ของ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

20 ธ.ค. 49
(จม.ขอใช้เครื่องมือวิจัย)

16

หนังสือขอความอนุเคราะห์เครื่องมือวิจัย ประกอบการทำวิทยานิพนธ์ ของ นางสาวอาจารี   แสงชัน  นิสิตสาขาวิชาจิตวิทยาเพื่อการพัฒนามนุษย์  มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

26 ธ.ค. 49
(จม.ขอใช้เครื่องมือวิจัย)

17

หนังสือขอความอนุเคราะห์เครื่องมือวิจัย  ประกอบการทำวิทยานิพนธ์ ของ นางสาวรุจิรา   เฉลิมสิริกุล    นิสิตสาขาวิชาจิตวิทยาเพื่อการพัฒนามนุษย์  มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

25 ธ.ค. 49
(จม.ขอใช้เครื่องมือวิจัย)

 


เอกสารอ้างอิง

รหัสเอกสาร

รายชื่อเอกสารอ้างอิง

49-16A-0301-01

สรุปรายชื่อกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการ  ที่สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ ได้จัด/ให้บริการในปีการศึกษา 2549

49-16A-0301-02

โครงการเครือข่ายครอบครัวเข้มแข็งใส่ใจสุขภาพ

49-16A-0301-03

โครงการพัฒนาครอบครัวเข้มแข็งและเยาวชนคุณภาพด้วยเครือข่ายครอบครัว-โรงเรียนในเขตกรุงเทพมหานครและจังหวัดนครนายก : พัฒนาจริยธรรม

49-16A-0301-04

โครงการเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีแก่นักเรียนที่อยู่ในสภาวะเสี่ยงทางครอบครัว

49-16A-0301-05

โครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน เรื่อง “การพัฒนาความสามารถทางอารมณ์และสังคมของนักเรียนชั้นประถมศึกษา”

49-16A-0301-06

กิจกรรมโพชฌงคปริตรเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช  ทรงครองสิริราชสมบัติครอบ 50 ปี

49-16A-0301-07

โครงการจัดประชุมวิชาการทางพฤติกรรมศาสตร์ (ในโอกาสครบรอบ 51 ปีสถาบัน)

49-16A-0301-08

โครงการบริการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ปีที่ 7

49-16A-0301-09

โครงการ “งานวันรวมใจ  เสริมสร้างสุขพลานามัย”

49-16A-0301-10

โครงการบริการวิเคราะห์ข้อมูลและแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์ ปีที่ 8

49-16A-0301-11

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการทางพฤติกรรมศาสตร์ เรื่อง “การวิจัยเชิงคุณภาพ”

49-16A-0301-12

โครงการพัฒนาศักยภาพนิสิต ครั้งที่ 1 หัวข้อ “จะเขียนบทความวิชาการตาม APA Style เขียนอย่างไร”

49-16A-0301-13

โครงการบรรยายธรรม เรื่อง “การฝึกสมาธิ เพื่อการผ่อนคลาย แบบสบายๆ”

49-16A-0301-14

โครงการฝึกอบรม เรื่อง สถิติเพื่อการวิจัยและการแปลผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยคอมพิวเตอร์  รุ่นที่ 10”

49-16A-0301-15

หนังสือขอความอนุเคราะห์เครื่องมือวิจัย บริการแบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ ของ นางสาวกฤดา  สถิตศิลาธรรม  นิสิตบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

49-16A-0301-16

หนังสือขอความอนุเคราะห์เครื่องมือวิจัย บริการแบบวัดความฉลาดทางอารมณ์ ของ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

49-16A-0301-17

หนังสือขอความอนุเคราะห์เครื่องมือวิจัย ประกอบการทำวิทยานิพนธ์ ของ นางสาวอาจารี   แสงชัน นิสิตสาขาวิชาจิตวิทยาเพื่อการพัฒนามนุษย์ มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต

49-16A-0301-18

หนังสือขอความอนุเคราะห์เครื่องมือวิจัย  ประกอบการทำวิทยานิพนธ์ ของ นางสาวรุจิรา เฉลิมสิริกุล   นิสิตสาขาวิชาจิตวิทยาเพื่อการพัฒนามนุษย์  มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต


เกณฑ์การให้คะแนน / คะแนนที่ได้

  1. การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ (คะแนนเต็ม 3 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

1 คะแนน

2 คะแนน

3 คะแนน

3

ร้อยละ 1 – 19

ร้อยละ 20 - 29

 ร้อยละ 30

2. การประเมินอิงพัฒนาการ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

0 คะแนน

1 คะแนน

1

ไม่มีการพัฒนา

มีการพัฒนา

หมายเหตุ
ถ้าผลการประเมินครั้งที่ 2 สูงกว่าผลการประเมินครั้งที่ 1 หรือถ้าผลการประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานครั้งที่ 2   อยู่ในระดับ 3 คะแนน ถือว่ามีการพัฒนา

3. การประเมินประสิทธิผลตามแผนของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)

เกณฑ์การให้คะแนน

 

คะแนนที่ได้

0 คะแนน

1 คะแนน

1

ไม่บรรลุตามเป้าหมายของแผน

บรรลุตามเป้าหมายของแผน

สรุปคะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ 3.1

คะแนนที่ได้จากการประเมิน

รวมคะแนน

อิงเกณฑ์มาตรฐาน

อิงพัฒนาการ

อิงประสิทธิผลตามแผนฯ

5

3

1

1

ตัวบ่งชี้

น้ำหนัก
(1)

คะแนนที่ได้
(2)

ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก
(3) = (1) x (2)

3.1  ร้อยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการและวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนา และเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ

4

5

20