ตัวบ่งชี้ 2.6 (ตัวบ่งชี้เฉพาะ) ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ใน reference journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำ
ผู้กำกับติดตามตัวบ่งชี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประทีป
จินงี่ |
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล อ. ทัศนา ทองภักดี |
โทรศัพท์ 02-6495000 ต่อ 7626 |
โทรศัพท์ 0-2649-500 ต่อ 7641 |
คำอธิบาย
ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ใน reference journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ การนับบทความที่ได้รับการอ้างอิงใน refereed journal หรือในฐานข้อมูลในระดับชาติหรือระดับนานาชาตินั้น ให้นับเพียงครั้งเดียว ไม่นับซ้ำ แม้ว่าบทความวิจัยนั้นจะได้รับการอ้างอิงหลายครั้งก็ตาม
บทความวิจัยในฐานข้อมูลมาตรฐานสากลตามที่กำหนด ให้นับเฉพาะที่เป็นบทความวิจัยเท่านั้น ได้แก่ "Research article", "letter" และ "review"
- การจำแนกฐานข้อมูล มีดังนี้
1) ฐานข้อมูล ISI
2) ฐานข้อมูลอื่นที่ไม่ซ้ำกับ ISI เช่น MathScinet, ScienceDirect, Biosci, Biosis, Agricolar, Scopus, Pubmed, Academic search premium, Infotrieve, Ingenta connect, Wilson, ERIC
สูตรการคำนวณ
จำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (citation) ใน referenced journal หรือในฐานข้อมูล
ระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ในปีการศึกษานั้น |
X 100 |
จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดและนักวิจัยในปีการศึกษานั้น |
ข้อมูลที่ต้องการ :
1. จำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (citation) ใน reference journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ในปีการศึกษานั้น ทั้งนี้สามารถนับผลงานของนักวิจัยและผลงานของอาจารย์ที่ลาศึกษาต่อได้ด้วย
2. จำนวนอาจารย์ประจำทั้งหมดในปีการศึกษานั้น
ผลการดำเนินงาน
ข้อมูลประกอบการประเมินตัวบ่งชี้ |
ผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา |
เป้าหมาย
ในปีการศึกษา 2550 |
2547 |
2548 |
2549 |
จำนวนบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (citation) ใน reference journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ในปีการศึกษานั้น |
-- |
-- |
-- |
1 |
จำนวนอาจารย์ประจำในปีการศึกษานั้น |
13 |
13 |
15 |
- |
ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ใน reference journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำ |
-- |
-- |
-- |
-- |
ไม่มีการดำเนินการในตัวบ่งชี้ 2.6
เกณฑ์การให้คะแนน / คะแนนที่ได้
- การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ (คะแนนเต็ม 3 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
|
คะแนนที่ได้ |
1 คะแนน |
2 คะแนน |
3 คะแนน |
0 |
ร้อยละ 1 14 |
ร้อยละ 15 - 19 |
ร้อยละ 20 |
2. การประเมินอิงพัฒนาการ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
|
คะแนนที่ได้ |
0 คะแนน |
1 คะแนน |
0 |
ไม่มีการพัฒนา |
มีการพัฒนา |
หมายเหตุ
ถ้าผลการประเมินครั้งที่ 2 สูงกว่าผลการประเมินครั้งที่ 1 หรือถ้าผลการประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานครั้งที่ 2 อยู่ในระดับ 3 คะแนน ถือว่ามีการพัฒนา
3. การประเมินประสิทธิผลตามแผนของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
|
คะแนนที่ได้ |
0 คะแนน |
1 คะแนน |
0 |
ไม่บรรลุตามเป้าหมายของแผน |
บรรลุตามเป้าหมายของแผน |
สรุปคะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ 2.6
คะแนนที่ได้จากการประเมิน |
รวมคะแนน |
อิงเกณฑ์มาตรฐาน |
อิงพัฒนาการ |
อิงประสิทธิผลตามแผนฯ |
0 |
0 |
0 |
0 |
ตัวบ่งชี้ |
น้ำหนัก
(1) |
คะแนนที่ได้
(2) |
ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก
(3) = (1) x (2) |
2.6 ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิง (Citation) ใน reference journal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติหรือระดับนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำ |
5 |
0 |
0 |
|