ตัวบ่งชี้ 2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ภายในสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ
ผู้กำกับติดตามตัวบ่งชี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประทีป
จินงี่ |
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล อ. ทัศนา ทองภักดี |
โทรศัพท์ 02-6495000 ต่อ 7626 |
โทรศัพท์ 0-2649-500 ต่อ 7641 |
คำอธิบาย
จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่สถาบันจัดสรรเพื่อการสนับสนุนการทำวิจัยและงานสร้างสรรค์ต่ออาจารย์ประจำทั้งหมด
โดยให้นับอาจารย์ประจำและนักวิจัยเฉพาะที่ปฏิบัติงานจริง ไม่นับรวมอาจารย์ประจำ
และนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ เงินที่จัดสรรให้เพื่อการวิจัยครอบคลุมถึงงบประมาณแผ่นดิน
และรายได้ของสถาบันที่ได้จัดสรรให้อาจารย์และนักวิจัยเพื่อทำวิจัยและงานสร้างสรรค์
การนับจำนวนเงินให้นับเฉพาะเงินที่ได้รับอนุมัติให้มีการเบิกจ่าย ไม่ใช่ตัวเลขงบประมาณที่จัดสรร
งานสร้างสรรค์ หมายถึง ผลงานวิชาการ (ไม่จำเป็นต้องเป็นงานวิจัย) ที่มีการศึกษา
ค้นคว้าหรือแสดงออกทางศิลปะอันเป็นที่ยอมรับ
สูตรการคำนวณ
จำนวนเงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์สถาบันจัดสรรให้กับอาจารย์ประจำ
และนักวิจัยในปีการศึกษานั้น |
X 100 |
จำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยในปีการศึกษานั้น |
ข้อมูลที่ต้องการ :
1. จำนวนอาจารย์ประจำในปีการศึกษานั้น ให้นับรวมนักวิจัยได้ด้วย และไม่นับรวมอาจารย์และนักวิจัยที่ลาศึกษาต่อ
2. จำนวนเงินสนับสนุนการทำวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่สถาบันได้จัดสรรให้กับอาจารย์และนักวิจัย
ในปีการศึกษานั้น การนับจำนวนเงินให้นับเฉพาะเงิน ที่ได้รับอนุมัติให้มีการเบิกจ่ายไม่ใช่ตัวเลข
งบประมาณที่จัดสรร
เอกสารอ้างอิง
ปีการศึกษา 2549 คณาจารย์และนักวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ ได้รับทุนสนับสนุนการวิจัย(เฉพาะเงินที่ได้รับให้มีการเบิกจ่าย)
จำนวน 2,418,500.-บาท
รหัสเอกสารอ้างอิง |
รายการเอกสารอ้างอิง |
49-16A-0202-01 |
วิลาสลักษณ์ ชัววัลลี ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน
จำนวน 210,000.-บาท จากการทำโครงการวิจัย เรื่อง การวิจัยและพัฒนาพลังปัญญาของเยาวชนไทย
โดยสถาบันครอบครัวและการศึกษา เพื่อนำไปสู่การเป็นเยาวชนที่พึงปรารถนาของสังคมไทย |
49-16A-0202-02 |
งามตา วนินทานนท์ ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้ของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
จำนวน 13,500.-บาท จากการทำโครงการวิจัย เรื่อง การประมวลและสังเคราะห์ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ให้ความสำคัญ
|
49-16A-0202-03 |
วิลาสลักษณ์ ชัววัลลี และ งามตา วนินทานนท์ ได้รับทุนสนับงานวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน
จำนวน 1,775,000.-บาท จากการทำโครงการวิจัย เรื่อง โครงการวิจัยและพัฒนาเชิงบูรณาการปัจจัยเชิงสาเหตุคุณภาพชีวิตครอบครัวและการทำงานของผู้ใหญ่
เพื่อประสิทธิผลในการพัฒนาเยาวชนไทย |
49-16A-0202-04 |
อรพินทร์ ชูชม ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากงบประมาณเงินรายได้มหาวิทยาลัย
จำนวน 20,000.-บาท จากการทำโครงการวิจัย เรื่อง การสำรวจพฤติกรรมการใช้และกำจัดโทรศัพท์มือถือ
แบตเตอรี่ของคนไทย |
49-16A-0202-05 |
อ้อมเดือน สดมณี ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน จำนวน
400,000.-บาท จากการทำวิจัยเรื่อง ปัจจัยเชิงบูรณาการที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการทำงานอย่างมีจริยธรรมของแกนนำชุมชนในภาคกลาง
|
เกณฑ์การให้คะแนน / คะแนนที่ได้
1. การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ (คะแนนเต็ม 3 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนนที่ได้ |
1 คะแนน |
2 คะแนน |
3 คะแนน |
3 |
1 19,999 บาท |
20,000 29,999 บาท |
>หรือ= 30,000 บาท |
2. การประเมินอิงพัฒนาการ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนนที่ได้ |
0 คะแนน
|
1 คะแนน |
1 |
ไม่มีการพัฒนา |
มีการพัฒนา |
หมายเหตุ
ถ้าผลการประเมินครั้งที่ 2 สูงกว่าผลการประเมินครั้งที่ 1 หรือถ้าผลการประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานครั้งที่
2 อยู่ในระดับ 3 คะแนน ถือว่ามีการพัฒนา
3. การประเมินประสิทธิผลตามแผนของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์(คะแนนเต็ม
1 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนนที่ได้ |
0 คะแนน
|
1 คะแนน |
1 |
ไม่มีการปฏิบัติตามแผน |
มีการปฏิบัติตามแผน |
สรุปคะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ 2.2
คะแนนที่ได้จากการประเมิน |
รวมคะแนน |
การประเมิน |
อิงพัฒนาการ |
มีการปฏิบัติตามแผน |
5 |
3 |
1 |
1 |
ตัวบ่งชี้ |
น้ำหนัก
(1)
|
คะแนนที่ได้
(2)
|
ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก
(3) = (1) x (2) |
2.2 เงินสนับสนุนงานวิจัย และงานสร้างสรรค์ภายในสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ |
3.34 |
5 |
16.7 |
|