ตัวบ่งชี้ 1.1 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาโทและเอกที่ได้งานทำและประกอบอาชีพอิสระ
ภายใน 1 ปี
ผู้กำกับติดตามตัวบ่งชี้ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประทีป
จินงี่ |
ผู้เก็บรวบรวมข้อมูล นางสาวอุษา ศรีจินดารัตน์ |
โทรศัพท์ 02-6495000 ต่อ 7626 |
โทรศัพท์ 02-6495000 ต่อ 7639 |
คำอธิบาย
จำนวนของบัณฑิตที่ได้งานทำ หมายถึง ผู้ที่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโทและเอกที่เรียนในหลักสูตรภาคปกติและภาคพิเศษหรือภาคนอกเวลาในสาขานั้นๆ
ที่ได้งานทำ หรือ มีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำ ภายในระยะเวลา 1 ปีนับจากวันที่สำเร็จการศึกษา
เมื่อเทียบกับบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีการศึกษานั้น โดยไม่นับรวมผู้ที่ศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษา
การนับจำนวนผู้มีงานทำของผู้สำเร็จการศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนในภาคพิเศษหรือภาคนอกเวลา
ให้นับเฉพาะผู้ที่เปลี่ยนงานใหม่หลังสำเร็จการศึกษาเท่านั้น ไม?นับผู้ที่มีงานทำ
หรือมีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำอยู่แล้ว
วันที่สำเร็จการศึกษา หมายถึง วันที่สภามหาวิทยาลัยอนุมัติให้สำเร็จการศึกษา
สูตรการคำนวณ
จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำและประกอบอาชีพอิสระ ภายใน 1 ปี นับจากวันที่สำเร็จการศึกษา
|
X 100 |
จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาทั้งหมด ในปีการศึกษานั้น ไม่นับรวมผู้ที่ศึกษาต่อ
|
ข้อมูลที่ต้องการ :
ข้อมูลได้จากการสำรวจภาวะการมีงานทำของบัณฑิตทั้งในระดับสถาบันและระดับกลุ่มสาขาที่มีการสำรวจและรวบรวมไว้
ซึ่งอาจเป็นแบบสำรวจที่สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา หรือสถาบันอุดมศึกษาจัดเก็บขึ้น
ทั้งนี้หากไม่สามารถเก็บข้อมูลจากบัณฑิตได้ทั้งหมด สถาบันอาจจัดเก็บในวันซ้อมรับพระราชทานปริญญาบัตร
หรือวันรับพระราชทานปริญญาบัตร โดยต้องแสดงให้เห็นว่าบัณฑิตที่ตอบแบบสอบถามนั้นมีความเป็นตัวแทนของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาในปีนั้น
ข้อมูลที่ต้องรายงาน ได้แก่
1. จำนวนบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาทั้งหมด ในปีการศึกษานั้น
2. จำนวนบัณฑิตที่ได้งานทำแล้ว ภายใน 1 ปีนับจากวันที่สำเร็จการศึกษา
3. จำนวนบัณฑิตที่มีกิจการของตนเองที่มีรายได้ประจำ ภายใน 1 ปีนับจากวันที่สำเร็จการศึกษา
4. จำนวนบัณฑิตที่ศึกษาต่อระดับบัณฑิตศึกษา ภายใน 1 ปีนับจากวันที่สำเร็จการ
ศึกษา
บัณฑิตระดับปริญญาโทและปริญญาเอก สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ที่สำเร็จการศึกษาระหว่างวันที่
9 กุมภาพันธ์ 2549 ถึงวันที่ 23 เมษายน 2550 มีผู้สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาโท
(วท.ม.การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) จำนวน 10 คน และระดับปริญญาเอก (วท.ด.การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์)
จำนวน 1 คน คิดเป็นสัดส่วนของบัณฑิตที่ได้งานทำแล้วภายใน 1 ปี นับจากวันที่สำเร็จการศึกษา
ไม่รวมนับผู้ที่ศึกษาต่อคิดเป็น ร้อยละ 100
[ผลการสำรวจการได้งานทำของผู้สำเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2548-2549
สาขาวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์]
เอกสารอ้างอิง
รหัสเอกสาร |
รายชื่อเอกสารอ้างอิง |
49-16A-0101-01 |
รายงานการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2547 |
49-16A-0101-02 |
รายงานการประเมินตนเอง ประจำปีการศึกษา 2548 |
49-16A-0101-03 |
ผลการสำรวจการได้งานทำของผู้สำเร็จการศึกษาปีการศึกษา 2548-2549 สาขาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ |
49-16A-0101-04 |
แผนงานด้านวิชาการของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ |
เกณฑ์การให้คะแนน / คะแนนที่ได้
1. การประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานขั้นต่ำ (คะแนนเต็ม 3 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนนที่ได้ |
1 คะแนน |
2 คะแนน |
3 คะแนน |
3 |
ร้อยละ 1 59 |
ร้อยละ 60 -79 |
มากกว่าร้อยละ 80 |
2. การประเมินอิงพัฒนาการ (คะแนนเต็ม 1 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนนที่ได้ |
0 คะแนน
|
1 คะแนน |
1 |
ไม่มีการพัฒนา |
มีการพัฒนา |
หมายเหตุ
ถ้าผลการประเมินครั้งที่ 2 สูงกว่าผลการประเมินครั้งที่ 1 หรือถ้าผลการประเมินอิงเกณฑ์มาตรฐานครั้งที่
2 อยู่ในระดับ 3 คะแนน ถือว่ามีการพัฒนา
3. การประเมินประสิทธิผลตามแผนของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์(คะแนนเต็ม
1 คะแนน)
เกณฑ์การให้คะแนน |
คะแนนที่ได้ |
0 คะแนน
|
1 คะแนน |
1 |
ไม่มีการปฏิบัติตามแผน |
มีการปฏิบัติตามแผน |
สรุปคะแนนการประเมินตัวบ่งชี้ 1.1
คะแนนที่ได้จากการประเมิน |
รวมคะแนน |
การประเมิน |
อิงพัฒนาการ |
มีการปฏิบัติตามแผน |
5 |
3 |
1 |
1 |
ตัวบ่งชี้ |
น้ำหนัก
(1)
|
คะแนนที่ได้
(2)
|
ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก
(3) = (1) x (2) |
1.1 ร้อยละของบัณฑิตระดับปริญญาโทและเอกที่ได้งานทำและประกอบอาชีพอิสระ
ภายใน 1 ปี |
2.15 |
5 |
10.75 |
|