วิธีทำงานวิจัยที่มีคุณภาพ ได้รับรางวัลระดับชาติ
 

 

ผลการประเมินคุณภาพภายใน ระดับตัวบ่งชี้ และระดับมาตรฐาน
ปีการศึกษา 2549


มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

น้ำหนัก

คะแนน ที่ได้

คะแนน ถ่วง น้ำหนัก

ผลการ ประเมิน

น้ำหนัก

คะแนน ที่ได้

คะแนน ถ่วง น้ำหนัก

ผลการ ประเมิน

1.  คุณภาพบัณฑิต

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตัวบ่งชี้ร่วม

15

 

 

 

15

 

 

 

1.0

กระบวนการส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพบัณฑิต

2.10

5

10.5

100%
ดี

2.1

5

10.5

100%
ดี

1.1

ร้อยละของบัณฑิตที่ได้งานทำและการประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี

2.15

5

10.75

100%
ดี

2.15

5

10.75

100%
ดี

1.2

ร้อยละของบัณฑิตที่ได้ทำงานตรงสาขาที่สำเร็จการศึกษา

2.15

5

10.75

100%
ดี

2.15

5

10.75

100%
ดี

1.3

ร้อยละของบัณฑิตที่ได้รับเงินเดือนเริ่มต้นเป็นไปตามเกณฑ์

2.15

5

10.75

100%
ดี

2.15

5

10.75

100%
ดี

1.4

ระดับความพึงพอใจของนายจ้าง ผู้ประกอบการ  และผู้ใช้บัณฑิต

2.15

5

10.75

100%
ดี

2.15

5

10.75

100%
ดี

1.5

จำนวนนักศึกษาหรือศิษย์เก่าที่ได้รับการประกาศเกียรติคุณ ยกย่องในด้านวิชาการ วิชาชีพ คุณธรรม จริยธรรม หรือรางวัลทางวิชาการหรือด้านอื่นที่เกี่ยวข้องกับ คุณภาพบัณฑิตในระดับชาติ หรือนานาชาติในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา

2.15

5

10.75

100%
ดี

2.15

5

10.75

100%
ดี

1.6

จำนวนวิทยานิพนธ์และงานวิชาการของนักศึกษาที่ได้รับรางวัลในระดับ ชาติหรือนานาชาติภายในรอบ  3 ปีที่ผ่านมา

2.15

2

4.3

40%
ปรับปรุง

2.15

2

4.30

40%
ควรปรับปรุง

 

ตัวบ่งชี้เฉพาะ

15

 

 

 

15

 

 

 

1.7

ร้อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาโทที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ต่อจำนวนปริญญานิพนธ์ปริญญาโททั้งหมด

5

2

10

40%
ปรับปรุง

5

2

10

40%
ปรับปรุง

1.8

ร้อยละของบทความจากวิทยานิพนธ์ปริญญาเอกที่ตีพิมพ์เผยแพร่ ต่อจำนวนปริญญานิพนธ์ปริญญาเอกทั้งหมด

5

5

25

100%
ดี

5

5

25

100%
ดี

1.9

ร้อยละของจำนวนบัณฑิตที่สร้างสรรค์งานวิจัย ภายในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา

5

3

15

60%
พอใจ

5

3

15

60%
พอใจ

รวมมาตรฐานที่ 1

30

42

118.55

79%
ดี

30

42

118.8

79%
ดี

เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินคุณภาพภายใน ระดับตัวบ่งชี้ และระดับมาตรฐาน
            คุณภาพระดับดี                              เมื่อคะแนนถ่วงน้ำหนักมีค่าตั้งแต่ 70 % ของคะแนนเต็ม
            คุณภาพระดับพอใจ                       เมื่อคะแนนถ่วงน้ำหนักมีค่าตั้งแต่ 50 – 69.99% ของคะแนนเต็ม
            คุณภาพระดับควรปรับปรุง          เมื่อคะแนนถ่วงน้ำหนักมีค่าต่ำกว่า 50% ของคะแนนเต็ม

มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

น้ำหนัก

คะแนน  ที่ได้

คะแนน ถ่วง น้ำหนัก

ผลการ ประเมิน

น้ำหนัก

คะแนน ที่ได้

คะแนน ถ่วง น้ำหนัก

ผลการ ประเมิน

2.  งานวิจัยและงานสร้างสรรค์

 

ตัวบ่งชี้ร่วม

20

20

2.0

กระบวนการพัฒนา/ส่งเสริมความสามารถในการทำวิจัย และงานสร้างสรรค์ของอาจารย์และนักวิจัย

3.30

5

16.5

100%
ดี

3.30

5

16.5

100%
ดี

2.1

ร้อยละของงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ตีพิมพ์เผยแพร่ และ/หรือนำไปใช้ประโยชน์ทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

3.34

5

16.7

100%
ดี

3.34

5

16.7

100%
ดี

2.2

เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ภายในสถาบันต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (บาท)

3.34

5

16.7

100%
ดี

3.34

5

16.7

100%
ดี

2.3

เงินสนับสนุนงานวิจัยและงานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบัน ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ (บาท)

3.34

5

16.7

100%
ดี

3.34

5

16.7

100%
ดี

2.4

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายในสถาบัน ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

3.34

5

16.7

100%
ดี

3.34

5

16.7

100%
ดี

2.5

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ได้รับทุนทำวิจัยหรืองานสร้างสรรค์จากภายนอกสถาบัน ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

3.34

5

16.7

100%
ดี

3.34

5

16.7

100%
ดี

 

ตัวบ่งชี้เฉพาะ

20

20

2.6

ร้อยละของบทความวิจัยที่ได้รับการอ้างอิงในreferencejournal หรือในฐานข้อมูลระดับชาติ หรือระดับนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำ

5

0

0

0
ควรปรับปรุง

5

0

0

0
ควรปรับปรุง

2.7

จำนวนผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่ได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา หรืออนุสิทธิบัตร ในรอบ 5 ปีที่ผ่านมา (ชิ้นงาน)

5

0

0

0
ควรปรับปรุง

5

0

0

0
ควรปรับปรุง

2.8

ผลงานวิจัยและงานสร้างสรรค์ ที่ได้รับการยอมรับในรอบ 3 ปีที่ผ่านมา

5

0

0

0
ควรปรับปรุง

5

0

0

0
ควรปรับปรุง

2.9

ร้อยละของจำนวนบุคลากรที่มีส่วนร่วมทำโครงการวิจัยกับหน่วยงานภายนอก

5

5

25

100%
ดี

5

5

25

100%
ดี

รวมมาตรฐานที่ 2

40

35

125

62.5%
พอใจ

40

35

125

62.50
พอใจ

 

มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

น้ำหนัก

คะแนน  ที่ได้

คะแนน ถ่วง น้ำหนัก

ผลการ ประเมิน

น้ำหนัก

คะแนน  ที่ได้

คะแนน ถ่วง น้ำหนัก

ผลการ ประเมิน

3.  การบริการวิชาการ

 

 

 

 

 

 

 

 

3.0

กระบวนการดำเนินงานบริการวิชาการ

4

5

20

100%
ดี

4

5

20

100%
ดี

3.1

ร้อยละของกิจกรรม/โครงการบริการวิชาการ และวิชาชีพที่ตอบสนองความต้องการพัฒนา และเสริมสร้างความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน ประเทศชาติ และนานาชาติต่ออาจารย์ประจำ

4

5

20

100%
ดี

4

5

20

100%
ดี

3.2

ร้อยละของอาจารย์ที่เป็นที่ปรึกษา เป็นกรรมการวิทยานิพนธ์ภายนอกสถาบัน เป็นกรรมการวิชาการ และกรรมการวิชาชีพในระดับชาติ  และนานาชาติ ต่ออาจารย์ประจำ

4

5

20

100%
ดี

4

5

20

100%
ดี

3.3

การนำความรู้และประสบการณ์จากการบริการ วิชาการและวิชาชีพมาใช้ในการพัฒนาการเรียน การสอน และการวิจัย

4

4

16

80%
ดี

4

4

16

80%
ดี

3.4

ค่าใช้จ่ายและมูลค่าของสถาบันในการบริการวิชาการ และวิชาชีพเพื่อสังคม ต่ออาจารย์ประจำ

4

5

20

100%
ดี

4

5

20

100%
ดี

3.5

จำนวนแหล่งให้บริการวิชาการและวิชาชีพที่ได้รับ การยอมรับในระดับชาติหรือระดับนานาชาติ (ไม่ต้องประเมินในกลุ่ม 1 แต่เสนอข้อมูลได้)

-

ไม่ประเมิน

ไม่ประเมิน

3.6

รายรับของสถาบันในการให้บริการวิชาการและวิชาชีพในนามสถาบัน ต่ออาจารย์ประจำ(ไม่ต้องประเมิน ในกลุ่มที่ 1 แต่เสนอข้อมูลได้)

-

ไม่ประเมิน

ไม่ประเมิน

3.7

ระดับความสำเร็จในการบริการวิชาการและวิชาชีพ ตามพันธกิจของสถาบัน(ไม่ต้องประเมินในกลุ่มที่ 1 แต่เสนอข้อมูลได้)

-

ไม่ประเมิน

ไม่ประเมิน

รวมมาตรฐานที่ 3

20

24

96

96%
ดี

20

24

96

96%
ดี

 

มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

น้ำหนัก

คะแนน ที่ได้

คะแนน ถ่วง น้ำหนัก

ผลการ ประเมิน

น้ำหนัก

คะแนน ที่ได้

คะแนน ถ่วง น้ำหนัก

ผลการ ประเมิน

4. การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

4.0

กระบวนการดำเนินงานทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม

3.32

5

16.6

100%
ดี

3.32

5

16.6

100%
ดี

4.1

ร้อยละของกิจกรรมในการอนุรักษ์ พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ศิลปะและวัฒนธรรม ต่อจำนวนนักศึกษา

3.34

5

16.7

100%
ดี

3.34

5

16.7

100%
ดี

4.2

ร้อยละของค่าใช้จ่ายและมูลค่าที่ใช้ในการอนุรักษ์ พัฒนาและสร้างเสริมเอกลักษณ์ ศิลปะและวัฒนธรรม ต่องบดำเนินการ

3.34

2

6.68

40%
ควรปรับปรุง

3.34

2

6.68

40%
ควรปรับปรุง

รวมมาตรฐานที่ 4

10

12

39.98

80%
ดี

10

12

39.98

80%
ดี

 

มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

น้ำหนัก

คะแนน ที่ได้

คะแนน ถ่วง น้ำหนัก

ผลการ ประเมิน

น้ำหนัก

คะแนน  ที่ได้

คะแนน ถ่วง น้ำหนัก

ผลการ ประเมิน

5.  การพัฒนาสถาบันและบุคลากร

5.0

กระบวนการดำเนินงานการพัฒนาสถาบันและบุคลากร

1.63

5

8.15

100%
ดี

1.63

5

8.15

100%
ดี

5.1

ระดับคุณภาพของสภาสถาบัน (คณะกรรมการประจำหน่วยงาน)

1.67

5

8.35

100%
ดี

1.67

5

8.35

100%
ดี

5.2

มีการพัฒนาสถาบันสู่องค์การเรียนรู้โดยอาศัย ผลการประเมินจากภายในและภายนอก

1.67

2

3.34

40%
ควรปรับปรุง

1.67

2

3.34

40%
ควรปรับปรุง

5.3

มีการกำหนดแผนกลยุทธ์ที่เชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ

1.67

5

8.35

100%
ดี

1.67

5

8.35

100%
ดี

5.4

การใช้ทรัพยากรภายในและภายนอกสถาบันร่วมกัน

1.67

5

8.35

100%
ดี

1.67

5

8.35

100%
ดี

5.5

ศักยภาพของระบบฐานข้อมูลเพื่อ การบริหาร การเรียนการสอน และ การวิจัย

1.67

5

8.35

100%
ดี

1.67

5

8.35

100%
ดี

5.6

สินทรัพย์ถาวร  ต่อจำนวนนักศึกษา

1.67

2

3.34

40%
ควรปรับปรุง

ให้ประเมินในระดับมหาวิทยาลัย

5.7

ค่าใช้จ่ายทั้งหมดต่อจำนวนนักศึกษา

1.67

1

1.67

20%
ควรปรับปรุง

1.67

1

1.67

20%
ควรปรับปรุง

5.8

ร้อยละของเงินเหลือจ่ายสุทธิต่องบดำเนินการ

1.67

2

3.34

40%
ควรปรับปรุง

1.67

2

3.34

40%
ควรปรับปรุง

5.9

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่เข้าร่วมประชุมวิชาการและ /หรือนำเสนอผลงานวิชาการทั้งในประเทศและต่างประเทศ

1.67

5

8.35

100%
ดี

1.67

5

8.35

100%
ดี

5.10

งบประมาณสำหรับการพัฒนา คณาจารย์ทั้งในและต่างประเทศ ต่ออาจารย์ประจำ

1.67

3

5.01

60%
พอใจ

1.67

3

5.01

60%
พอใจ

5.11

ร้อยละของบุคลากรประจำสายสนับสนุน ที่ได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะวิชาชีพ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ

1.67

3

5.01

60%
พอใจ

1.67

3

5.01

60%
พอใจ

รวมมาตรฐานที่ 5

20

43

68.27

74.48%
ดี

18.33

41

68.27

74.48%
ดี

 

มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

น้ำหนัก

คะแนน ที่ได้

คะแนน ถ่วง น้ำหนัก

ผลการ ประเมิน

น้ำหนัก

คะแนน ที่ได้

คะแนน ถ่วง น้ำหนัก

ผลการ ประเมิน

6.  หลักสูตรและการเรียนการสอน

6.0

กระบวนการดำเนินงานด้านหลักสูตรและการเรียนการสอน

 

2

 

5

 

10

100%
ดี

2

5

10

100%
ดี

6.1

ร้อยละของหลักสูตรที่ได้มาตรฐานต่อหลักสูตรทั้งหมด

 

2

 

5

 

10

100%
ดี

2

5

10

100%
ดี

6.2

จำนวนนักศึกษาเต็มเวลาเทียบเท่า ต่อจำนวนอาจารย์ประจำ

 

2

 

2

 

4

40%
ปรับปรุง

2

1

2

20%
ควรปรับปรุง

6.3

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่มีวุฒิปริญญาเอก หรือเทียบเท่า ต่ออาจารย์ประจำ

 

2

 

5

 

10

100%
ดี

2

5

10

100%
ดี

6.4

ร้อยละของอาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ

 

2

 

3

 

6

60%
พอใจ

2

3

6

60%
พอใจ

6.5

การปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาชีพคณาจารย์

 

2

 

4

 

8

80%
ดี

2

4

8

80%
ดี

6.6

กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยเฉพาะการเรียนรู้จากการปฏิบัติและประสบการณ์จริง

 

2

 

5

 

10

 

100%
ดี

2

5

10

100%
ดี

6.7

ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาต่อ คุณภาพการสอนของอาจารย์และ สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

2

5

10

100%
ดี

2

5

10

100%
ดี

6.8

ร้อยละของนักศึกษาที่เข้าร่วมกิจกรรม/ โครงการพัฒนานักศึกษา

2

5

10

100%
ดี

2

5

10

100%
ดี

6.9

ค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ใช้ในระบบห้องสมุด คอมพิวเตอร์ และศูนย์สารสนเทศต่อนักศึกษา

2

2

4

40%
ปรังปรุง

2

2

4

40%
ควรปรับปรุง

รวมมาตรฐานที่ 6

20

41

82

82%
ดี

20

40

80

80%
ดี

 

มาตรฐาน / ตัวบ่งชี้

ผลการประเมินตนเอง

ผลการประเมินของคณะกรรมการ

น้ำหนัก

คะแนน ที่ได้

คะแนน ถ่วง น้ำหนัก

ผลการ ประเมิน

น้ำหนัก

คะแนน ที่ได้

คะแนน ถ่วง น้ำหนัก

ผลการ ประเมิน

7.  การประกันคุณภาพ

7.0

กระบวนการดำเนินงานการประกันคุณภาพ

6.66

5

33.3

100%
ดี

6.66

5

33.3

100%
ดี

7.1

ระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายใน ที่ก่อให้เกิดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา อย่างต่อเนื่อง

6.67

4

26.68

80%
ดี

6.67

3

20.01

60%
พอใจ

7.2

ประสิทธิผลของการประกันคุณภาพภายใน

6.67

5

33.5

100%
ดี

6.67

5

33.5

100%
ดี

รวมมาตรฐานที่ 7

20

14

93.48

93.48%
ดี

20

13

86.81

86.81%
ดี

 

พัฒนาการด้านการประกันคุณภาพการศึกษา

1. กระบวนการด้านการประกันคุณภาพ  มีการดำเนินการอย่างเป็นระเบียบและเป็นรูปธรรม

    • กรรมการประกันคุณภาพวางแผนในการดำเนินกิจกรรมร่วมกัน
    • มีการติดตามผลการดำเนินงานเป็นระยะ

2. ได้นำผลการตรวจสอบ  การประเมินคุณภาพ  และข้อเสนอแนะจากการตรวจสอบ  การประเมินคุณภาพในครั้งที่ผ่านมาปรับปรุงการดำเนินงานของหน่วยงาน

3. การเขียน  SAR  มีรายละเอียดสมบูรณ์และถูกต้องตามแบบฟอร์มที่มหาวิทยาลัยกำหนด แต่มีข้อต้องแก้ไขในรายละเอียดซึ่งได้แจ้งให้สถาบันวิจัยฯทราบแล้วในการประชุมสรุปผลการประเมิน

    4.การนำเสนอข้อมูลและจัดระบบเอกสารสนับสนุนตัวชี้วัดจัดเป็นระบบครบถ้วน และถูกต้องกรรมการสามารถค้นหาได้ง่าย

 

ตารางสรุปผลการประเมินตนเอง การประกันคุณภาพการศึกษา ประจำปี 2549 สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว


มาตรฐาน

1
จำนวน ตัวบ่งชี้

2
คะแนน เต็ม

3
คะแนน ที่ได้

4
น้ำหนัก แต่ละ มาตรฐาน

5
คะแนนเต็ม ถ่วงน้ำหนัก
(4x2)/1

6
คะแนนที่ได้ ถ่วงน้ำหนัก
3x4

คิดเป็นร้อยละ
(6/5)
x100

ผลการ ประเมิน

มาตรฐาน 1

10

50

42

30

150

118.55

79.00%

ดี

มาตรฐาน 2

10

50

35

40

200

125

62.50%

พอใจ

มาตรฐาน 3

5

25

24

20

100

96

96.00%

ดี

มาตรฐาน 4

3

15

12

10

50

39.98

80.00%

ดี

มาตรฐาน 5

12

60

43

20

100

68.27

74.48%

ดี

มาตรฐาน 6

10

50

41

20

100

82

82%

ดี

มาตรฐาน 7

3

15

14

20

100

93.48

93.48%

ดี

 

สรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2549 ของสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
มีคุณภาพระดับ ดี เพราะ ผลการประเมินอยู่ในระดับ ดี ทุกมาตรฐาน