รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด73
ชื่อเครื่องมือวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
งานวิจัยอ้างอิง0ไม่มีข้อมูล
ที่เก็บงานวิจัยห้องสมุด มศว ประสานมิตร
หมายเลขเรียกหนังสือ
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของ บุญริน ศักดิ์มณี (2532)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อพัฒนาเครื่องมือ
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนในข้อที่มีเครื่งหมาย(*)จะให้คะแนนแรียงตามลำดับจากจริงที่สุด=6 จนถึงไม่จริงเลย=1 ส่วนข้อความที่มีเครื่องหมาย(**)จะให้คะแนนในทางตรงกันข้ามการแบ่งกลุ่มใช้ค่าเฉลี่ยของกลุ่มรวม ครูที่มีคะแนนสูงกว่าค่าเฉลี่ยของกล่มรวมจัดเป็นครูที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูง
คุณภาพของเครื่องมือวัดไม่บอกไว้
ความยาก วิธีการและพิสัย
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยt=2.75-t=7.45
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับร่วมงานที่มีความสามารถ จำนวน 20 ข้อ
ความเชื่อมั่น.90
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างครูจากสายงานปฎิบัติการสอนวิชาสังคมศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนต้นของเขตการศึกษา 1 จากโรงเรียนสมุทรปราการ และจังหวัดปทุมธานี จำนวน 200 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือ
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ หมายถึง ปริมาณความเพียรพยายามของครูผู้สอนที่จะพัฒนาตนเองและงานของตนให้ประสบผลสำเร็จโดยไม่ย่อท้อกับอุปสรรคและความล้มเหลวรู้จักกำหนดเป้าหมายให้เหมาะสมกับความสามารถของตน และเลือกเพื่อนร่วมงานที่มีความสามารถข้อความของแบบวัดแต่ละข้อมีลักษณะเกี่ยวข้องกับลักษณะใฝ่สัมฤทธิ์ของครู ซึ่งมีเนื้อหาแสดงถึงความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทนในการทำงานให้สำเร็จ ตลอดจนเลือกเพื่อนร่วมงานที่มีความสามารถ จำนวน 20 ข้อ
ตัวอย่างเครื่องมือวัด*(0)ข้าพเจ้าสามารถทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งได้ติดต่อกันเป็นเวลานานโดยไม่เบื่อหน่าย------ --- --------- ---------- ------ --------จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลย**(00)เมื่อข้าพเจ้าพบว่างานที่ทำอยู่นั้นมาก ข้าพเจ้าจะเลิกทำทันที------ ---- -------- ----------- ------ --------จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลย
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]