รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด601
ชื่อเครื่องมือวัดแบบวัดการควบคุมสถาการณ์ของผู้นำ
งานวิจัยอ้างอิงตัวแปรที่ส่งผลต่ประสิทธิผลในกลุ่มงานของเจ้าหน้าที่ ผลิตรายการโทรทัศน์ ในสถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทยช่อง 11 กรมประชาสัมพันธ์ทั่วราชอณาจักร
ที่เก็บงานวิจัย
หมายเลขเรียกหนังสือ
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด แปลและปรับปรุงมาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แนวคิดการควบคุมสถาณการณ์ของผู้นำของฟิลเลอร์ ( Fiedler .1978 )
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตราวัด 5ระดับ เห็นด้วยอย่างยิ่ง -ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ถ้าเป็นข้อความทางบวกผู้ตอบจะได้คะแนน 5-0 ถ้าเป็นข้อความทางลบผู้ตอบจะได้คะแนนตรงกันข้าม
คุณภาพของเครื่องมือวัดเจ้าหน้าที่ในกลุ่มงานผลิตรายการโทรทัศน์ ในหน่วยงาน ระดับผู้นำกลุ่ม 31 คน,ระดับสมาชิกกลุ่ม 35 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้วิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยวิธี Item total correlation พิสัย .36-.79
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับContent Validity โดยผู้เชี่ยวชาญ 7 คน
ความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนนาค ค่า R เท่ากับ .86
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างเจ้าหน้าที่ผลิตรายการโทรทัศน์ ที่เป็นข้าราชการและลูกจ้างทั้งหมด ที่ปฏิบัติหน้าที่ผลิตรายการหรืองานที่เกี่ยวช้องสังกัดสถานีวิทยุโทรทัศน์ แห่งประเทศไทยช่อง 11 กรมประชาสัมพันธ์ 36 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุ
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดวัดตัวแปร " การควบคุมสถานการณ์ของผู้นำ " หมายถึง ระดับของอำนาจ และการตัดสินใจของกลุ่มที่ผู้นำสามารถกำหนดหน้าที่ ผลงาน และการตัดสินใจของกลุ่มงานได้มากน้อยเพียงใด ตัวกำหนดการควบคุมสถานการณ์ของผู้นำ มี 3 องค์ประกอบ คือความสัมพันธ์ระหว่างผู้นำกลุ่มกับสมาชิกในกลุ่ม ความชัดเจนของงานและอำนาจในตำแหน่งของผู้นำ
ตัวอย่างเครื่องมือวัดเห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่มีความเห็น ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 1.ผู้บังคับบัญชา หรือสมาชิก ในกลุ่มของท่านไม่สามัคคีกัน 2.งานในหน้าที่รับผิดชอบของท่าน มีวิธีดำเนินงานเป็นขั้นตอน หรือมีวิธีการที่เป็นมาตราฐานที่กำหนดไว้ 3.การปฏิบัติงานมีมาตราฐานที่ใช้ตรวจสอบประสิทธิาพในการทำงาน
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]