รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด589
ชื่อเครื่องมือวัดแบบสอบถามการถ่ายทอดทางสังคมของโรงเรียน
งานวิจัยอ้างอิงปัจจัยการถ่ายทอดทางสังคม เชิงวิชาชีพครูที่ส่งผลต่อเอกลักษณ์วิชาชีพและพฤติกรรมการปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทของครูแนะแนว
ที่เก็บงานวิจัย
หมายเลขเรียกหนังสือ
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด แปลและปรับปรุงมาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แบบวัดการถ่ายทอดทางสังคมขององค์การของเซาและคนอื่นๆ ( Organizational Socialization Learning Scale ) ( Chao and other.1994 ;ฉบับปรับปรุงโดยเอลเดรจ Eldredge .1996 )
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนเป็นมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ ตั้งแต่ เห็นด้วยอย่างยิ่ง ถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จำนวน 10 ข้อ เห็นอย่างยิ่ง 5 เห็นด้วย 4 ไม่แน่ใจ 3 ไม่เห็นด้วย 2 ไม่เห็นอย่างยิ่ง 1
คุณภาพของเครื่องมือวัดเป็นครูแนะแนวที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 102 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้ทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยใช้การวิเคราะห์ Item total correlation มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ในช่วง .50-.87 ข้อคำถามใดมีความสัมพันธ์กับคะแนนรวมสูง อย่างมีนัยสำคัญจึงนำมาใช้
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบ Content Vadity โดยคณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์ และผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน แล้วทำดัชนีความสอดคล้อง IOC ข้อที่มีค่า น้อยกว่า .50
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟา ได้ค่าดัชนีความเชื่อมั่นทั้งฉบับ .97
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างเป็นข้าราชการครู โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปีการศึกษา 2543 ที่ปฏิบัติหน้าที่ครูแนะแนว โดยสำเร็จการศึกษาสาขาจิตวิทยาการแนะแนว หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ดำรงตำแหน่ง อาจารย์ 1-3 ( ครูแนะแนวการศึกษา ) ซึ่งได้มาจากการสุ่มประชากรรวมทั
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุไว้ในปริญญานิพนธ์
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดเป็นแบบสอบถามผลลัพธ์เชิงเนื้อหาด้านการทำงานที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ความเป็นวิชาชีพครูแนะแนว จากโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการหรือสถานประกอบวิชาชีพครูแนะแนว วิเคราะห์ 4 องค์ประกอบคือ 1.เป้าหมายของการใช้ภาษาในงาน 2. ประสิทธิภาพในการทำงานและการเมืองในองค์การ 3. ความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน 4. ความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติและวัฒนการทำงาน
ตัวอย่างเครื่องมือวัดก. ปกติเป้าหมายและการใช้ภาษาเฉพาะในงาน 1. ข้าพเจ้าสามารถใช้ศัพท์เฉพาะในงานแนะแนวได้ถูกต้อง ข. มิติประสิทธิภาพการทำงานและการเมืองในองค์การ 2. ข้าพเจ้าทราบว่าผู้ใดให้การสนับสนุนงานแนะแนวของโรงเรียน ค. มิติความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน 3. คณะกรรมการแนะแนวเป็นเพื่อนร่วมงานที่ดีของข้าพเจ้า ง. มิติความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติและวัฒนธรรมการทำงาน 4. ข้าพเจ้าไม่รู้ภูมิหลังงานแนะแนวของโรงเรียน R
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]