รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด587
ชื่อเครื่องมือวัดแบบสอบถามปฏิสัมพันธ์เชิงถ่ายทอดทางวิชาชีพกับตัวแทน
งานวิจัยอ้างอิงปัจจัยการถ่ายทอดทางสังคม เชิงวิชาชีพครูที่ส่งผลต่อเอกลักษณ์วิชาชีพและพฤติกรรมการปฏิบัติหน้าที่ตามบทบาทของครูแนะแนว
ที่เก็บงานวิจัย
หมายเลขเรียกหนังสือ
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด แปลและปรับปรุงมาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด ปาร์ค Park 1993 แบบวัดปฏิสัมพันธ์เชิงถ่ายทอดวิชาชีพกับปัจจัยบริบทของโรงเรียน Interactions with .Schoul Comtexual Factors
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนเป็นมาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ ตั้งแต่ เห็นด้วยอย่างยิ่ง ถึง ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง จำนวน 10 ข้อ เห็นอย่างยิ่ง 5 เห็นด้วย 4 ไม่แน่ใจ 3 ไม่เห็นด้วย 2 ไม่เห็นอย่างยิ่ง 1
คุณภาพของเครื่องมือวัดเป็นครูแนะแนวที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 102 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้ทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยใช้การวิเคราะห์ Item total correlation มีค่าอำนาจจำแนกอยู่ในช่วง .87-.92 ข้อคำถามใดมีความสัมพันธ์กับคะแนนรวมสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจึงนำมาใช้
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบ Content Vadity โดยคณะกรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์ และผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 7 คน แล้วทำดัชนีความสอดคล้อง IOC ข้อที่มีค่า น้อยกว่า .50
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟา ได้ค่าดัชนีความเชื่อมั่นทั้งฉบับ .98
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างเป็นข้าราชการครู โรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ปีการศึกษา 2543 ที่ปฏิบัติหน้าที่ครูแนะแนว โดยสำเร็จการศึกษาสาขาจิตวิทยาการแนะแนว หรือสาขาที่เกี่ยวข้อง ดำรงตำแหน่ง อาจารย์ 1-3 ( ครูแนะแนวการศึกษา ) ซึ่งได้มาจากการสุ่มประชากรรวมทั
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุไว้ในปริญญานิพนธ์
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดเป็นแบบวัดปริมาณการรับรู้การตีความสัมพันธ์กับคณะกรรมการแนะแนว และกับนักเขียน โดยการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การสอน การให้ข้อมูลย้อนกลับ และการเป็นแบบอย่างควมเป็นวิชาชีพครูแนะแนว ที่ส่งเสริมให้บุคคลมีความรู้ ความสามารถ มีเจคติที่มดี และมีทักษะในการประกอบวิชาชีพครูแนะแนว
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1.การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการทำงานแนะแนวกับคณะกรรมการแนะแนวของโรงเรียนทำให้ข้าพเจ้ามีเจคติที่ดีต่อวิชาชีพครูแนะแนว 2.การได้เห็นแบบอย่างจากคณะกรรมการแนะแนว ทำให้ข้าพเจ้าเข้าใจบทบาทของครูแนะแนว 3.ข้าพเจ้าขอนำข้อคิดเห็นเกี่ยวกับงานแนะแนวที่นักเรียนให้ข้อมูลย้อนกลับมาพัฒนางานแนะแนวของโรงเรียน
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]