รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด572
ชื่อเครื่องมือวัดความผูกพันในองค์การ
งานวิจัยอ้างอิงพฤติกรรมของผู้บริการที่เพิ่มพลังการทำงานให้พนักงานส่วนตำบล
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
หมายเลขเรียกหนังสือ
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด พอร์เตอร์และคณะ Porter et al.1974
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตราส่วนประมาณค่า 7 ระดับ ตั้งแต่ ไม่เห็นด้วยถึงไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มพนักงานส่วนตำบลในจังหวัดพัทลุง จำนวน 100 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้วิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยอยู่ระหว่าง 2.19 ถึง 11.37
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบจำนวน 9 ท่าน
ความเชื่อมั่นวิธีการ Cronbach'n Alpha .95
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลในตำแหน่งรองปลัด หัวหน้า สำนักงานปลัด หัวหน้าส่วนการคลังและพัสดุ หัวหน้าส่วนการโยธา และหัวหน้าส่วนสาธารณสุข จากอบต. ในจังหวัด สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา จำนวน 384 แห่ง จำนวนประชากรทั้งสิ้น 802 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุ
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดวัดตัวแปรความผูกพันในองค์การ หมายถึง ลักษณะทางจิตใจที่บ่งชี้ให้เห็นถึงความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของบุคคลนั้น ที่มีให้กับองค์การใดองค์การหนึ่ง ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็น 3 องค์ประกอบได้แก่ 1. องค์ประกอบด้านความเชื่อและการยอมรับในคุณค่าและเป้าหมายขององค์การ 2.ความมุ่งมั่นตั้งใจในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งขององค์การ 3.มีความปรารถนาที่จะคงความเป็นสมาชิกขององค์การต่อไป
ตัวอย่างเครื่องมือวัดระดับความผูกพัน เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ค่อนข้างเห็นด้วย ไม่แน่ใจ ค่อนข้างไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 7 6 5 4 3 2 1 1. ข้าพเจ้ามีความตั้งใจและพยายามมากกว่าคนอื่นๆ เพื่อที่จะช่วยให้หน่วยงานนี้ ประสบความสำเร็จ 2.ข้าพเจ้าพูดคุยกับเพื่อนมากกว่าหน่วยงานนี้น่าเข้ามาทำงานอย่างมาก
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]