รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด571
ชื่อเครื่องมือวัดความพึงพอใจในการทำงาน
งานวิจัยอ้างอิงพฤติกรรมของผู้บริการที่เพิ่มพลังการทำงานให้พนักงานส่วนตำบล
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
หมายเลขเรียกหนังสือ
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แฮคแมนและโอล์ดแฮม ( Hackman and Oldman 1995 )
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตราส่วนประมาณค่า 7 ระดับ ตั้งแต่ มากที่สุดถึงน้อยที่สุด
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มพนักงานส่วนตำบลในจังหวัดพัทลุง จำนวน 100 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้วิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยใช้เทคนิคร้อยละ 27 กลุ่มสูง -กลุ่มต่ำ มีค่า เป็นบวก ระหว่าง 9.52 - 15.07 มีค่าความสัมพันธ์ท้ายข้อกับคะแนนรวมระหว่าง 57-.59
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบจำนวน 9 ท่าน
ความเชื่อมั่นวิธีการ Cronbach'n Alpha .85
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลในตำแหน่งรองปลัด หัวหน้า สำนักงานปลัด หัวหน้าส่วนการคลังและพัสดุ หัวหน้าส่วนการโยธา และหัวหน้าส่วนสาธารณสุข จากอบต. ในจังหวัด สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลา จำนวน 384 แห่ง จำนวนประชากรทั้งสิ้น 802 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุ
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดวัดตัวแปร"ความพึงพอใจในการทำงาน" หมายถึง ความรู้สึกของบุคคลต่อการทำงานและต่อลักษณะงานที่ทำอยู่โดยจำแนกเป็นความพึงพอใจทั่วไป (General satisfaction ) ซึ่งจะเป็นการวัดความรู้สึกโดยทั่วไป หรือโดยรวมของพนักงาน เช่น ความสุข ความพึงพอใจ งานที่ทำอยู่ อีกส่วนหนึ่งได้แก่ ความพึงพอใจเฉพาะ เป็นความรู้สึกต่องานเฉพาะด้าน ได้แก่ความมั่นคง
ตัวอย่างเครื่องมือวัดระดับความพึงพอใจ มากที่สุด มาก ค่อนข้างมาก ปานกลาง ค่อนข้างน้อย น้อย น้อยที่สุด 7 6 5 4 3 2 1 1.ข้าพเจ้ารู้สึกพอใจกับงานที่ทำอยู่ 2.ข้าพเจ้ามักจะรอคอยว่าเมื่อไรจะถึงเวลาเลิกงาน
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]