รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด569
ชื่อเครื่องมือวัดพลังการทำงานด้านจิตใจ
งานวิจัยอ้างอิงพฤติกรรมของผู้บริการที่เพิ่มพลังการทำงานให้พนักงานส่วนตำบล
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
หมายเลขเรียกหนังสือ
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด สปริทเซอร์ ( Spreitzer )
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตราส่วนประมาณค่า 7 ระดับ ตั้งแต่ จริงที่สุด ถึง ไม่จริงที่สุด
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มพนักงานส่วนตำบลในจังหวัดพัทลุง จำนวน 100 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้วิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยใช้เทคนิคร้อยละ 27 กลุ่มสูง-กลุ่มตำ โดยมีค่า ( บวก ) ระหว่าง 2.96-8.88 มีค่าความสัมพันธ์รายชื่อกับคะแนนรวม ระหว่าง .50-.51
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบจำนวน 9 ท่าน และทดสอบความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างกับกลุ่มพนักงานระดับกลาง และทดสอบความเที่ยงตรง
ความเชื่อมั่นวิธีการ Cronbach'n Alpha .80-.85
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างพนักงานองค์การบริหารส่วนตำบลในตำแหน่งรองปลัด หัวหน้า สำนักงานปลัด หัวหน้าส่วนการคลังและพัสดุ หัวหน้าส่วนการโยธา และหัวหน้าส่วนสาธารณสุข จากอบต. ในจังหวัด สงขลา สตูล ปัตตานี ยะลานราธิวาส จำนวน 384 แห่ง จำนวนประชากรทั้งสิ้น 802 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุ
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดวัดตัวแปร " พลังการทำงานด้านจิตใจ" ( คองเกอร์และดานันโกให้ความหมาย ) หมายถึง การเพิ่มพลังว่าเป็นแนวคิดของแรงจูงใจที่จะทำให้เกิดความเชื่อในความสามารถของตน
ตัวอย่างเครื่องมือวัดเห็นด้วยอย่างยิ่ง ไม่เห็นด้วย ค่อนข้างไม่เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ค่อนข้างไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 1.มิติด้านผลกระทบ - สิ่งที่เกิดขึ้นในหน่วยงานนี้เป็นผลมาจากการกระทำของข้าพเจ้าค่อนข้างมาก 2.มิติด้านความสามารถ -ข้าพเจ้ามั่นใจว่าตนเองมีความสามารในการทำงานที่ได้รับมอบหมายได้ 3.มิติด้านความหมาย / ความสำคัญ -ข้าพเจ้ารู้สึกว่างานที่ทำอยู่เป็นงานที่มีคุณค่าและมีความสำคัญ 4.มิติด้านความมีอิสระในการตัดสินใจ -ข้าพเจ้ามีอำนาจหน้าที่มากพอที่จะตัดสินใจว่าจะทำงานอย่างไร
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]