รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด549
ชื่อเครื่องมือวัดแบบวัดทัศนคติต่องานองค์การบริหารส่วนตำบล
งานวิจัยอ้างอิงปัจจัยที่ส่งผลต่อความเข้มแข็งขององค์การบริหารส่วนตำบลในภาคกลาง
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
หมายเลขเรียกหนังสือ
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด จินตนา นิลมาศและคณะ ( 2529 )ศักดิ์ชัย นิรัญทวี ( 2532 ) บุญรัน ศักดิ์มณี ( 2532 ) เจิดหล้า สุนทรวิภาต ( 2534 )
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนไม่จริงเลย ถึง จริงที่สุด ถ้าเป็นข้อความทางบวก ผู้ตอบจะได้คะแนน 1-6 ถ้าเป็นข้อความทางลบ ผู้ตอบจะได้คะแนนตรงข้าม 6 ระดับ
คุณภาพของเครื่องมือวัดประธานกรรมการบริหาร ขององค์การบริหารส่วนตำบลที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง 120 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้วิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยวิธี Item total correlation ได้ค่า .39-.67
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับContent vadility โดยผู้เชี่ยวชาญ 12 คน
ความเชื่อมั่นสัมประสิทิแอลฟาของครอนนาค ได้ค่า . 86
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างประธานกรรมการบริหาร ขององค์การบริหารส่วนตำบลในภาคกลาง (เขต 1,2,12,13 )
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้เสนอไว้
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดวัดตัวแปร " ทัศนคติต่องานองค์การบริหารส่วนตำบล " หมายถึงปริมาณความรู้สึกว่างานองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นสิ่งที่ดี มีคุณค่า มีความพอใจในงานองค์การบริหารส่วนตำบล และพร้อมที่จะทำงานนั้น
ตัวอย่างเครื่องมือวัดไม่จริงเลย ไม่จริง ค่อนข้างไม่จริง ค่อนข้างจริง จริง จริงที่สุด 1. การทำงานของข้าพเจ้าจะช่วยให้ท้องถิ่นพัฒนาได้มากยิ่งขึ้น 2. ข้าพเจ้ารู้สึกพอใจที่ได้ทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานใน อบต. แห่งนี้ 3.ถ้ามีโอกาสหารายได้พิเศษ ข้าพเจ้าต้องทำแม้จะกินเวลาราชการไปบ้าง
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]