รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด532
ชื่อเครื่องมือวัดการอบรมเลี้ยงดูของบิดามารดา
งานวิจัยอ้างอิงอัจฉรา สุขารมณ์,อรพินทร์ ชูชมและทัศนา ทองภักดี.(2538). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการอบรมเลี้ยงดู ความคิดสร้างสรรค์และพฤติกรรมกล้าแสดงออก. รายงานการวิจัยฉบับที่49 สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์.
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว. ประสานมิตร
หมายเลขเรียกหนังสือ
คำสำคัญการอบรมเลี้ยงดู,บิดามารดา
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนานุสรณ์ สถาพรวงศ์(2523 : 36-42)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตราส่วนประมาณค่า5คำตอบ มากที่สุด ถึง น้อยที่สุด
คุณภาพของเครื่องมือวัดนำแบบสอบถามที่สร้างไปทดลองใช้กับผู้ปกครองนักเรียน ม. 1 จำนวน 50 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ต้องทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยใช้เทคนิค 27% สูง-ต่ำ วิเคราะห์รายข้อ โดยหาคะแนนเฉลี่ยของกลุ่มทดสอบความแตกต่างแต่ละข้อใช้t-testแบบสอบถามการ อบรมเลี้ยงดูแบบใช้เหตุผล t สูงกว่า2.30,แบบกวดขัน t สูงกว่า2.50,แบบปล่อยปละt สูงกว่า2.61 (p <.05)
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับไม่ได้ระบุ
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าเท่ากับ 0.87
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักรียนระดับชั้นม.1 โรงเรียนรัฐบาลในกทม. กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ196คนกับโรงเรียนมัธยมสาธิตสังกัดทบวง มหาวิทยาลัย195คนภาคต้น ปีการศึกษา 2534
เวลาในการใช้เครื่องมือ
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดเป็นแบบสอบถามการอบรมเลี้ยงดุ3แบบ คือการอบรมเลี้ยงดูแบบใช้เหตุผล การอบรมเลี้ยงดูแบบปล่อยปละละเลยและการ อบรมเลี้ยงดูแบบเข้มงวดกวดขัน แบบสอบถามที่เป็นคำถามทางบวกดูที่เกณฑ์มากที่สุดและมาก ส่วนทางลบให้ถือเกณฑ์น้อย ที่สุดและน้อย เด็กต้องได้รับเกณฑ์เกินกว่าร้อยละ75ของแบบสอบถามการอบรมเลี้ยงดูแบบนั้น หากไม่ได้ตามเกณฑ์เป็นการ อบรมเลี้ยงดูแบบอื่นๆ
ตัวอย่างเครื่องมือวัด_________________________________________________________________________________________________ ข้อ วิธีการที่ท่านปฏิบัติต่อเด็ก มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด _________________________________________________________________________________________________ 1. ท่านรับประทานอาหารกับเด็กทุกวัน ---------- --------- ---------- --------- --------- 2. ท่านไม่สนใจต่อการเรียนของลูก 3. ท่านซื้อสิ่งของให้ลูกทุกคนเท่ากัน 4. ท่านเบื่อกับปัญหาต่างๆที่ลูกสร้างขึ้น 5. เมื่อลูกพูดคำหยาบท่านใช้วิธีตวาดหรือตีลูกทันที 6. ท่านไม่เคยสนใจที่จะซื้อของที่ลูกอยากได้
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]