รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด508
ชื่อเครื่องมือวัดการอบรมเลี้ยงดูบุตรตามแนวพุทธ
งานวิจัยอ้างอิงลักษณะทางพุทธศาสนาและพฤติกรรมศาสตร์ของบิดามารดาที่เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดูบุตร. รายงานการวิจัย ฉับบที่50. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์.
ที่เก็บงานวิจัยหอสมุดกลาง มศว.
หมายเลขเรียกหนังสือ294.315 ง311ล
คำสำคัญการอบรมเลี้ยงดู , การอบรมเลี้ยงดูตามแนวพุทธ
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตรวัด 6 หน่วย จาก จริงที่สุด ถึง ไม่จริงเลย การ
คุณภาพของเครื่องมือวัดนำไปทดลองใช้กับกลุ่มบิดามารดาที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มประชากร
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ต้องทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัย1.การสร้างความสนใจอยู่ระหว่าง 3.46- 8.08 2. การสร้างความเข้าใจเนี้อความ 3.59 - 8.64 และ 3.การสร้างการยอมรับและเปลี่ยนตาม 3.79 - 11.14
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับไม่ได้ระบุ
ความเชื่อมั่นค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า 1.การสร้างความสนใจ 0.70 จากงานวิจัยครั้งนี้ 0.75 2.การสร้างความเข้าใจเนื้อความ 0.77 จากงานวิจัย 0.81 3. การสร้างการยอมรับและเปลี่ยนตาม 0.82 จากงานวิจัย 0.82
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างบิดามารดาที่มีบุตรในช่วงอายุ8-15ปีนับถีอพุทธอาศัยในกทม.และผู้ปกครองประเภทอี่นๆรวม545คนจากผู้ที่สนใจเข้าฝึกปฏิบัติธรรมซึ่งคาดว่าเป็นผู้ที่มีความเชื่อและปฏิบัติทางพุทธศาสนาในระดับสูง ปานกลางและต่ำ
เวลาในการใช้เครื่องมือช่วงปลายปี 2534 ถึงต้นปี 2535
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดหมายถึง ปริมาณการฝึกอบรมของบิดามารดาทั้งทางตรงทางอ้อมเพื่อกระตุ้นบุตรให้เกิดความรู้ความเข้าใจและการยอมรับที่จะปฏิบัติตามหลักคำสอนทางพุทธศาสนาขั้นพี้นฐานอันได้แก่ การบริจาคทาน การรักษาศีลห้าและฝึกสมาธิภาวนา ด้วยวิธีการตามขั้นตอนการชักจูงให้บุคคลเปลี่ยนทัศนคติ 3 ขั้นตอนคีอ 1.สร้างความสนในและให้โอกาสรับทราบหลักปฏิบัติเบี้องต้นทางพุทธศาสนา 2.สร้างความเข้าใจในเนื้อความของหลักปฏิบัติทางพุทธ 3.สร้างการยอมรับและการเปลี่ยนตามหลักปฏิบัติทางพุทธ
ตัวอย่างเครื่องมือวัดเป็นคำถามเกี่ยวกับการปฏิบัติของพ่อแม่ต่อลูกของตน 1.ฉันแนะนำให้ลูกสังเกตสีหน้าสบายใจและปลี้มปิติของบุคคลหลังการทำบุญให้ทาน ------------- ------------- ------------- ------------- -------------- --------------- จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลย 2.ฉันชี้แจงให้ลูกคลายความโกรธและให้อภัยเพื่อนที่เกเร 3.ฉันไม่ทราบเรื่องการรักษาศีลดีพอที่จะอธิบายให้ลูกเข้าใจได้ 4.ฉันพูดให้ลูกเข้าใจว่าคนที่รักษาศีลเป็นพวกไม่ทันโลก 5.ครอบครัวของเราไม่เคยพูดคุยกันเรื่องทำสมาธิภาวนา 6.ฉันบอกให้ลูกเข้าใจถึงความหมายหลักของบทสวดมนต์
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]