รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด506
ชื่อเครื่องมือวัดการปฎิบัติทางพุทธศาสนา
งานวิจัยอ้างอิงลักษณะทางพุทธศาสนาและพฤติกรรมศาสตร์ของบิดามารดาที่เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดูบุตร. รายงานการวิจัย ฉับบที่50. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์.
ที่เก็บงานวิจัยหอสมุดกลาง มศว.
หมายเลขเรียกหนังสือ294.315 ง311ล
คำสำคัญการปฎิบัติทางพุทธศาสนา, พุทธศสนา
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด ดวงเดือน พันธุมนาวิน และคณะ (2533)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตรวัด 6 หน่วย จากจริงที่สุด ถึง ไม่จริงเลย ให้คะ
คุณภาพของเครื่องมือวัดนำไปทดลองกับกลุ่มฆารวาส 159 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ต้องทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยค่าอำนาจจำแนกอยู่ระหว่าง 4.55 - 11.06
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับได้ค่าที 6.02
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าเท่ากับ 0.77 ในงานวิจันนี้ เท่ากับ 0.74
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างบิดามารดามีบุตรอายุ8-15ปีนับถีอพุทธร้อยละ90ในกทม.และประเภทอื่นรวม545คนที่สนใจเข้าฝึกปฎิบัติธรรม&บิดามารดาของ นร.สาธิต มศว. ที่คาดว่าเป็นผู้ที่มีความเชื่อและปฎิบัติทางพุทธศาสนาในระดับสูง&ปานกลาง,ระดับปานกลาง&ต่ำตามลำดับ
เวลาในการใช้เครื่องมือช่วงปลายปี 2534 ถึงต้นปี 2535
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดหมายถึงการรายงานเกี่ยวกับตนเองของผู้ตอบที่สะท้อนให้เห็นถึงปริมาณความเป็นไปได้ที่เขาจะกระทำหรีองดเว้นการกระทำ อย่างหนึ่งอย่างใดในการดำเนินชีวิตประจำวันตามหลักคำสอนทางพุทธศาสนาภายใต้กรอบของการให้ทาน รักษาศีลห้าและการ ฝึกปฏิบัติสมาธิภาวนา
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1.ฉันพร้อมที่จะพูดปดถ้าคำพูดนั้นช่วยให้ฉันได้ประโยชน์ ----------- ----------- ----------- ------------ ------------ ------------- จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลย 2.ฉันเห็นว่าการสวดมนต์ไหว้พระก่อนเข้านอน เป็นการกระทำที่ไร้สาระ 3.คงต้องรอให้ร่ำรวยกว่านี้ก่อน ฉันจึงจะทำบุญให้ทานแก่ผู้อื่น 4.ฉันดื่มสุราและ/ หรือเบียร์ โดยไม่สนใจว่าจะผิดศีลหรือไม่
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]