รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด502
ชื่อเครื่องมือวัดการปฏิบัติทางพุทธศาสนา
งานวิจัยอ้างอิงการเรียนในโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์กับลักษณะทางพุทธศาสนา และพฤติกรรมศาสตร์ของนักเรียนวัยรุ่น. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพฯ. มศว ประสานมิตร.
ที่เก็บงานวิจัยหอสมุดกลาง มศว ประสานมิตร
หมายเลขเรียกหนังสือ306.6 ห268ก
คำสำคัญการปฏิบัติทางพุทธศาสนา, การปฏิบัติ
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด นำของ ดวงเดือน พันธุมนาวิน และคนอื่นๆ (2533) มาใช้
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตรวัด 6 หน่วย จาก จริงที่สุด จนถึง ไม่จริงเลย
คุณภาพของเครื่องมือวัด-
ความยาก วิธีการและพิสัย-
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัย-
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับนำแบบวัดของ ดวงเดือน พันธุมนาวิน มาปรับปรุงภาษาของข้อคำถามให้เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่าง ที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่า มีค่าเท่ากับ .66
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชายและหญิง ชั้น ม.1,2,3 ปีการศึกษา 2535 ของโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตกรุงเทพฯ ที่เรียนและไม่เรียนในโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ จำนวน 145 และ 140 คน ตามลำดับ รวม 285 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือ-
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดการปฏิบัติทางพุทธศาสนา ปริมาณความเป็นไปได้ที่บุคคลจะกระทำหรืองดเว้นการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งในการดำเนินชีวิตประจำวัน โดยยึดหลักธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธศาสนา ได้แก่ การให้ทาน การรักษาศีล การทำสมาธิภาวนา ซึ่งเป็นการงดเว้นการทำชั่ว ทำแต่ความดี และรักษาจิตใจให้ผ่องใสบริสุทธิ์
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. ฉันดื่มสุรา และ/หรือ เบียร์ โดยไม่สนใจว่าจะผิดศีลหรือไม่ 2. ฉันไม่คิดว่าการทำสมาธิจะให้ประโยชน์อะไรแก่ฉันได้ 3. ฉันชอบแนะนำให้คนอื่นอ่านหนังสือเกี่ยวกับพุทธศาสนา 4. การตกปลาเป็นเกมกีฬาที่น่าตื่นเต้น 5. ฉันจะคำนึงถึงเรื่องบุญบาปก่อนตัดสินใจกระทำสิ่งหนึ่งสิ่งใดเสมอ ............ ....... ................. ..................... .......... ............... จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลย
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]