รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด498
ชื่อเครื่องมือวัดการส่งเสริมความเป็นพุทธมามกะ
งานวิจัยอ้างอิงการเรียนในโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์กับลักษณะทางพุทธศาสนา และพฤติกรรมศาสตร์ของนักเรียนวัยรุ่น. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพฯ. มศว ประสานมิตร.
ที่เก็บงานวิจัยหอสมุดกลาง มศว ประสานมิตร
หมายเลขเรียกหนังสือ306.6 ห268ก
คำสำคัญการส่งเสริม, ความเป็นพุทธมามกะ, พุทธมามกะ
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด นำของ งามตา วนินทานนท์ (2536) มาใช้
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมี 6 ระดับ จาก จริงที่สุด จนถึง ไม่จริงเลย ในข้อค
คุณภาพของเครื่องมือวัด-
ความยาก วิธีการและพิสัย-
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัย-
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับนำแบบวัดมาปรับปรุงภาษา ของข้อความให้เหมาะสม กับกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่า มีค่าเท่ากับ .89
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชายและหญิง ชั้น ม.1,2,3 ปีการศึกษา 2535 ของโรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา ในเขตกรุงเทพฯ ที่เรียนและไม่เรียน ในโรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ จำนวน 145 และ 140 คน ตามลำดับ รวม 285 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือ-
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดการส่งเสริมความเป็นพุทธมามกะ การรับรู้ของนักเรียนว่า บิดามารดาแสดงความเอาใจใส่ด้วยการ ชักจูงนักเรียนให้เกิดความสนใจในการปฏิบัติ ตามหลักธรรมเบื้องต้น สำหรับพุทธศาสนิกชน คือ การให้ทาน การรักษาศีล และการเจริญภาวนา โดยเน้นเกี่ยวกับ การบริจาคทรัพย์หรือสิ่งของ เพื่อเป็นทาน การให้อภัยไม่ถือโกรธ การรักษาศีลห้า และการสวดมนต์ การฝึกสมาธิ เป็นต้น
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. แม่ไม่มีเวลาพาฉันไปทำบุญที่วัด 2. พ่อแม่ใช้ฉันไปซื้อเบียร์หรือเหล้าให้ท่านบ่อยครั้ง 3. แม่เปิดเทปธรรมะให้ฉันฟังบ่อยครั้ง 4. แม่เรียกฉันให้มาร่วมใส่บาตรพระสงฆ์ด้วยทุกครั้งที่มีโอกาส 5. แม่ชี้แจงให้ฉันคลายความโกรธและให้อภัยเพื่อนที่เกเร ............ ....... ................. ..................... .......... ................ จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลย
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]