รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด483
ชื่อเครื่องมือวัดการร่วมรู้สึก
งานวิจัยอ้างอิงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีระเบียบวินัย. กรุงเทพฯ. รายงานการวิจัย สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว ประสานมิตร.
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว
หมายเลขเรียกหนังสือรายงานการวิจัย ฉบับที่ 60
คำสำคัญการร่วมรู้สึก
ที่มาของเครื่องมือวัด แปลและปรับปรุงมาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แบบสอบถามของ Mehrabian and Epstien (1972)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมี 6 ระดับ จาก จริงที่สุด ถึง ไม่จริงเลย
คุณภาพของเครื่องมือวัดนักเรียนชั้น ป.6 โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ และชั้น ม.3 โรงเรียนวัดบวรมงคล ชั้นละ 50 คน รวม 100 คน
ความยาก วิธีการและพิสัย-
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยคำนวณหาค่า t-test มีค่าระหว่าง 2.36 - 9.65
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับให้คณะกรรมการการสร้างเครื่องมือวิจัย พิจารณาความเที่ยงตรงตามเนื้อหา
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่า มีค่า .78
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้น ป.6 จำนวน 300 คน และชั้น ม.3 จำนวน 300 คน ของโรงเรียนในกรุงเทพฯ สังกัดกรมสามัญศึกษา ปีการศึกษา 2538
เวลาในการใช้เครื่องมือ-
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดการร่วมรู้สึก ความสามารถในการตอบสนองเชิงอารมณ์ของนักเรียนต่อประสบการณ์ทางอารมณ์ของผู้อื่น การตอบสนองนี้ อาจหมายถึง การตระหนักถึงความรู้สึกของผู้อื่น การแบ่งปันความรู้สึก เช่น การแสดงความพอใจหรือไม่พอใจ
ตัวอย่างเครื่องมือวัด0. ฉันรู้สึกไม่สนุกไปกับเพื่อนๆ ขณะที่ช่วยกันจัดกิจกรรมในงานของโรงเรียน 00. ฉันพยายามฟังความคิดเห็นของเพื่อนๆ เพื่อจะทำตัวเข้ากับเพื่อนได้ ............ ...... ................ : ................... .......... .............. จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง : ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลย
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]