รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด476
ชื่อเครื่องมือวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
งานวิจัยอ้างอิงการอบรมเลี้ยงดู และตัวแปรทางบุคลิกภาพบางตัวในฐานะที่เป็นตัวทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนประถมศึกษา. รายงานการวิจัย สถา
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว
หมายเลขเรียกหนังสือรายงานการวิจัย ฉบับที่ 54
คำสำคัญแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์, แรงจูงใจ
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด จากทฤษฎีและผลงานวิจัยของ McClland and other (1958), Cofer, Appley (1964) และ Herman (1970)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนn/a
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนประกอบด้วยข้อความ ที่เป็นสถานการณ์ต่างๆ และมีตัวเล
คุณภาพของเครื่องมือวัดเด็กชั้น ป.1,2 และ ป.3 จำนวน 100, 103 และ 105 คน ตามลำดับ
ความยาก วิธีการและพิสัย-
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยคำนวณค่าสหสัมพันธ์ไบซีเรียล ระหว่างข้อกับคะแนนรวมในแต่ละระดับชั้น ชั้น ป.1 มีค่า .21-.78 , ป.2 มีค่า .22-.96 และ ป.3 มีค่า .23-.77
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับ-
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า มีค่าเท่ากับ .72
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้น ป.1 ปีการศึกษา2526 จำนวน 380 คน จากโรงเรียนในกรุงเทพฯ 109 คน และนอกเขตกรุงเทพฯ 271 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือครั้งแรก ปลายปีการศึกษา 2526, ครั้งที่ 2 ปลายปีการศึกษา 2527, ครั้งที่ 3 ปลายปีการศึกษา 2528
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ลักษณะภายในของบุคคลที่มุ่งความสำเร็จของงาน อันประกอบด้วย ลักษณะย่อยๆ ดังนี้ 1. ระดับความหมายของงาน 2. พฤติกรรมสัมฤทธิ์ 3. ปรารถนา หรือชื่นชมในความสำเร็จ 4. ความอดทนทำงานได้นาน 5. ความเคร่งครัดกับงาน 6. การเลือกเพื่อน
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. ก. ฉันอยากเล่นเกมการเล่นที่ฉันจะเรียนรู้อะไรบางอย่าง ข. ฉันอยากเล่นเกมการเล่นที่สนุกๆ 2. ก. ฉันกลัวว่าจะสอบได้คะแนนไม่ดี ข. ฉันคิดว่าสอบปลายเทอมนี้ฉันจะได้คะแนนดี 3. ก. เมื่ออยู่ในชั้นเรียนฉันไม่อยากให้ครูเรียกถาม ข. เมื่ออยู่ในชั้นเรียนฉันอยากให้ครูเรียกถาม 4. ก. ฉันชอบพูดหน้าชั้น ข. ฉันไม่ชอบพูดหน้าชั้น 5. ก. ฉันสนุกกับการเรียน ข. ฉันกลัวว่าจะเรียนไม่ดี
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]