รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด475
ชื่อเครื่องมือวัดความถนัดทางภาษาไทย
งานวิจัยอ้างอิงการอบรมเลี้ยงดู และตัวแปรทางบุคลิกภาพบางตัวในฐานะที่เป็นตัวทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนประถมศึกษา. รายงานการวิจัย สถา
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว
หมายเลขเรียกหนังสือรายงานการวิจัย ฉบับที่ 54
คำสำคัญความถนัด, ภาษาไทย
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด จากผลการศึกษาค้นคว้าในตำรา และเอกสารงานวิจัยต่างๆ
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนMultiple Choice
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนน3 ตัวเลือก ผู้ที่มีคะแนนสูงถือว่ามีความถนัดทางการ
คุณภาพของเครื่องมือวัดนักเรียน ชั้น ป.1,2 และ ป.3 จำนวน 99 , 106 และ 89 คน ตามลำดับ
ความยาก วิธีการและพิสัยป.1 - ป.3 ใช้การตรวจสอบความยากเป็นรายข้อ เป็นค่าสัดส่วนระหว่างผู้ตอบข้อสอบในแต่ละข้อถูกต่อจำนวนผู้เข้าสอบทั้งหมด (p) ชั้น ป.1 มีค่า .27-.70 , ป.2 มีค่า .30-.92 , ป.3 มีค่า .45-.98
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยทำการวิเคราะห์รายข้อ ป.1 มีค่า .26-.77 , ป.2 มีค่า .16-.75 , ป.3 มีค่า .24-.81
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับ-
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า ชั้น ป.1 มีค่า .66 , ป.2 มีค่า .64 , ป.3 มีค่า .51 และ .74 สำหรับทุกชั้น
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้น ป.1 ในปีการศึกษา 2526 จำนวน 380 คน จากโรงเรียนในกรุงเทพฯ 109 คน และนอกเขตกรุงเทพฯ 271 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือครั้งที่ 1 ปลายปีการศึกษา 2526, ครั้งที่ 2 ปลายปีการศึกษา 2527, ครั้งที่ 3 ปลายปีการศึกษา 2528
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดความถนัดทางภาษาไทย ความสามารถในการมองความสัมพันธ์ระหว่างคำในลักษณะอุปมาอุปไมย
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. ผิด---------ถก : คดโกง----------- ก. ขยัน ข. ซื่อตรง ค. นักโทษ 2. นาฬิกา----------ข้อมือ : แหวน--------- ก. นิ้ว ข. มือ ค. สร้อย 3. ช่างไม่-----------ตาปู : ช่างเย็บเสื้อ----------- ก. เข็ม ข. ด้าย ค. ผ้า 4. คลอง----------ถนน : เรือ------------ ก. รถ ข. รถไฟ ค. ร้านค้า 5. หน้าต่าง----------เปิด : ร่ม----------- ก. เก็บ ข. กาง ค. คลุม
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]