รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด474
ชื่อเครื่องมือวัดความถนัดทางคณิตศาสตร์
งานวิจัยอ้างอิงการอบรมเลี้ยงดู และตัวแปรทางบุคลิกภาพบางตัวในฐานะที่เป็นตัวทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนประถมศึกษา. รายงานการวิจัย สถา
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว
หมายเลขเรียกหนังสือรายงานการวิจัย ฉบับที่ 54
คำสำคัญความถนัด, คณิตศาสตร์
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด จากผลการศึกษาค้นคว้าตำรา และเอกสารงานวิจัยต่างๆ
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนMultiple Choice
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนน3 ตัวเลือก ผู้ที่มีคะแนนสูงกว่า ถือว่า มีความถนัดท
คุณภาพของเครื่องมือวัดนักเรียนชั้น ป.1, ป.2 และป.3 จำนวน 93 , 96 และ 84 คน ตามลำดับ
ความยาก วิธีการและพิสัยป.1 - ป.3 ใช้การตรวจสอบความยากเป็นรายข้อ เป็นค่าสัดส่วนระหว่างข้อสอบในแต่ละข้อต่อจำนวนผู้เข้าสอบทั้งหมด (p) ป.1 มีค่า .24 - .84 , ป.2 มีค่า .22 - .97 และ ป.3 มีค่า .26 - .95
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยใช้วิธีการวิเคราะห์รายข้อ ป.1 มีค่า .23-.88 , ป.2 มีค่า .19-.76 และ ป.3 มีค่า .16-.81
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับ-
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า ชั้น ป.1 มีค่า .78 , ป.2 มีค่า .69 และ ป.3 มีค่า .61 และ .82 สำหรับกลุ่มรวมทุกระดับ
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้น ป.1 ในปีการศึกษา 2526 จำนวน 380 คน จากโรงเรียน ในเขตกรุงเทพฯ 109 คน และในจังหวัดใกล้เคียงนอกเขตกรุงเทพฯ 271 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือครั้งที่ 1 ปลายปีการศึกษ 2526, ครั้งที่ 2 ปลายปีการศึกษา 2527, ครั้งที่ 3 ปลายปีการศึกษา 2528
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดความถนัดทางคณิตศาสตร์ ความสามารถในการจับความสัมพันธ์ระหว่างตัวเลขในอนุกรมที่กำหนดให้ได้
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. 10 8 6 4 ? ก. 1 ข. 2 ค. 3 2. 2009 4010 6011 ? ก. 6012 ข. 7012 ค. 8012 3. 32 34 ? 38 40 ก. 30 ข. 35 ค. 36 4. 6.25 6.00 5.50 ? ก. 5.25 ข. 5.15 ค. 5.00 5. 1/2 3/4 5/6 7/8 ? ก. 9/10 ข. 9/11 ค. 9/12
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]