รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด473
ชื่อเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์วิชาภาษาไทย
งานวิจัยอ้างอิงการอบรมเลี้ยงดู และตัวแปรทางบุคลิกภาพบางตัวในฐานะที่เป็นตัวทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักเรียนประถมศึกษา. รายงานการวิจัย สถา
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว
หมายเลขเรียกหนังสือรายงานการวิจัย ฉบับที่ 54
คำสำคัญผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน, ผลสัมฤทธิ์, ภาษาไทย
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด ในระดับชั้น ป.1,2 และ ป.3
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนMultiple Choice
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนแบบทดสอบ ชั้น ป.1 มี 3 ตัวเลือก ชั้น ป.2,3,4,5 มี
คุณภาพของเครื่องมือวัดป.1 เด็กชั้น ป.1 จำนวน 102 คน, ป.2 เด็กชั้น ป.2 โรงเรียนบางเตย จำนวน 179 คน , ป.3 นักเรียนชั้น ป.3 โรงเรียนวัดคฤหบดี และวัดสามัคคีสุทธาวาส จำนวน 195 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยชั้น ป.1,2,3,5 ใช้ตรวจสอบความยากเป็นรายข้อ เป็นสัดส่วนระหว่างผู้ตอบข้อสอบในแต่ละข้อถูกต่อผู้เข้าสอบทั้งหมด (p) ป.1 มีค่า .35 - .89 , ป.2 มีค่า .29 - .84 , ป.3 มีค่า .19 - .86 , ป.5 มีค่า .34 - .85
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยป.1,2,3 ใช้วิธีหาค่าสหสัมพันธ์แบบไบซีเรียล มีค่าพิสัย .24 - .72 , .23 - .79 , .29 - .81 ตามลำดับ
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับ-
ความเชื่อมั่นชั้น ป.1 และ ป.5 ใช้วิธีหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า มีค่า เท่ากับ .72 และ .95 ตามลำดับ ชั้น ป.2,3,4,6 ใช้สูตร KR 20 มีค่า .82 , .88 , .96 และ .61 ตามลำดับ
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้น ป.1 ในปีการศึกษา 2526 จำนวน 380 คน จากโรงเรียนในเขตกรุงเทพฯ 109 คน ในจังหวัดใกล้เคียง 271 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือครั้งที่ 1 ปลายปีการศึกษา 2526 นักเรียนชั้น ป.1, ครั้งที่ 2 ปลายปีการศึกษา 2527 นักเรียนชั้น ป.2,..., ครั้งที่ 6 ปลายปีการศึกษา 2531 นักเรียน ชั้น ป.6 ซึ่งเป็นนักเรียนกลุ่มตัวอย่างเดิม
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทย ความสามารถในการจำ เข้าใจ นำไปใช้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินค่า ในเนื้อเรื่องตามบทเรียนวิชาภาษาไทย
ตัวอย่างเครื่องมือวัด
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]