รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด47
ชื่อเครื่องมือวัดสุขภาพจิต
งานวิจัยอ้างอิง0ไม่มีข้อมูล
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
หมายเลขเรียกหนังสือ1750
คำสำคัญ
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แบบวัดของสุพจน์ จักขุทิพย์ (2521), ดวงเดือน พันธุมนาวิน
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อพัฒนาเครื่องมือ
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตร 6 หน่วย จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลยเชิงบวก 6 5 4 3 2 1เชิงลบ 1 2 3 4 5 6
คุณภาพของเครื่องมือวัดผู้ปกครองของนักเรียนประถม 120 คน
ความยาก วิธีการและพิสัย
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัย
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับมี 15 ข้อ
ความเชื่อมั่นN = 51 คน สปส
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างผู้ปกครองนักเรียนประถมต้น และมัธยมต้นในกรุงเทพฯ 662 คน เป็นมารดาของนักเรียน 386 คน พ่อ 145 คน และผู้ปกครองประเภทอื่นอีก 131 คน (58%, 22% และ20%ของผู้ตอบทั้งหมดตามลำดับ) ครึ่งหนึ่งมาจากโรงเรียนในถิ่นที่แออัดมาก อีกครึ่งหนึ่งมาจากโรงเรียนในถิ่นที่แออัดน้อย
เวลาในการใช้เครื่องมือ
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดสุขภาพจิต หมายถึง การรายงานของผู้ตอบว่ามีลักษณะต่อไปนี้ ในปริมาณต่ำหรือไม่มีเลย คือความรู้สึกวิตกกังวลโดยไม่ทราบสาเหุต การมีอารมณ์รุนแรง ขาดความอดทน ขาดความกล้าและขาดสมาธิ ในกรณีที่จะต้องแบ่งผู้ตอบออกเป็น 2 ประเภทตามคะแนนสุขภาพจิต เป็นผู้สุขภาพจิตดีและสุขภาพจิตไม่ดี ใช้คะแนนเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมดคือ 56.3 คะแนนเป็นเกณฑ์แบ่งมี 15 ข้อ
ตัวอย่างเครื่องมือวัดจริงที่สุด ถึง ไม่จริงเลย(0) ข้าพเจ้ารู้สึกว่าตนเองเป็นคนตื่นเต้นง่าย(00) ข้าพเจ้ารู้สึกว่าตนเองสนใจอะไรไม่ได้นาน
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]