รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด444
ชื่อเครื่องมือวัดแรงจูงใจภายใน
งานวิจัยอ้างอิงการพัฒนาแบบวัดแรงจูงใจภายใน. รายงานการวิจัย. กรุงเทพฯ. สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มศว .
ที่เก็บงานวิจัยสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์
หมายเลขเรียกหนังสือรายงานการวิจัยฉบับที่ 70
คำสำคัญแรงจูงใจภายใน
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อพัฒนาเครื่องมือ
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนประเมินค่า 5 ระดับ ตั้งแต่ จริง จนถึง ไม่จริง ข้อ
คุณภาพของเครื่องมือวัด-
ความยาก วิธีการและพิสัย-
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยหาค่าอำนาจจำแนกรายข้อ 1) ทดสอบค่า t-test โดยใช้เกณฑ์ 25% แบ่งกลุ่มสูงต่ำ เพื่อหาความแตกต่างของคะแนนเฉลี่ยรายข้อ ของกลุ่มสูง 2) หาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม ใช้การหาค่า Pearson correlation
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับให้ผู้เชี่ยวชาญทางจิตวิทยา จำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบข้อคำถามในแต่ละข้อ
ความเชื่อมั่น1) หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค 2) หาความเชื่อมั่นชนิดการสอบซ้ำ โดยหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สันระหว่างการทดสอบ 2 ครั้ง ห่างกัน 1 เดือน
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้น ม.1, ม.3, ม.5 และ ม.6 ประจำปีการศึกษา 2540 และ 2541 และอาจารย์ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในเขตกรุงเทพฯ
เวลาในการใช้เครื่องมือใช้เวลาในการทำแบบวัด 30 นาที
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัด1. ความต้องการสิ่งที่ท้าทาย 2. ความสนใจ - เพลิดเพลิน 3. ความเป็นตัวของตัวเอง 4. ความต้องการมีความสามารถ 5. ความมุ่งมั่น
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. การได้ทำสิ่งที่ข้าพเจ้าสนใจไม่สำคัญเท่ากับการได้ทำสิ่งที่อาจารย์ต้องการ 2. ข้าพเจ้าชอบทำงานต่างๆ ด้วยตนเองมากกว่าที่จะอาศัยความช่วยเหลือจากผู้อื่น 3. ข้าพเจ้าต้องการในการคิดและการกระทำ 4. ข้าพเจ้าพอใจในการแก้ปัญหาที่ซับซ้อน 5. ในการเรียนข้าพเจ้าเรียนเพื่อให้ผ่านพ้นไปวันๆ หนึ่ง ...... ................. ............. ..................... ......... จริง ค่อนข้างจริง ไม่แน่ใจ ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]