รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด441
ชื่อเครื่องมือวัดลักษณะการเผชิญปัญหา
งานวิจัยอ้างอิงปัจจัยที่สัมพันธ์กับลักษณะการเผชิญปัญหาของนักเรียนวัยรุ่น ในกรุงเทพมหานคร ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์). กรุงเทพฯ. มศว
ที่เก็บงานวิจัยมศว ประสานมิตร
หมายเลขเรียกหนังสือ155.5 น251ป
คำสำคัญลักษณะการเผชิญปัญหา, การเผชิญปัญหา, ปัญหา
ที่มาของเครื่องมือวัด แปลและปรับปรุงมาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด บอยด์ และจอห์นสัน (1981)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนn/a
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนแบบ projective (แบบวัดการฉายภาพ) โดยให้ดูภาพที่คลุ
คุณภาพของเครื่องมือวัดนักเรียนวัยรุ่นปกติ จากโรงเรียนสารวิทยา กรุงเทพฯ จำนวน 50 คน และกลุ่มเด็กวัยรุ่นจากบ้านเมตตา และบ้านปราณี จำนวน 50 คน
ความยาก วิธีการและพิสัย-
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัย-
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับหาความเที่ยงตรงเชิงโครงสร้างโดยนำไปทดลองใช้กับกลุ่มทดลองดังกล่าว แล้วนำมาทดสอบด้วยวิธี ไค- สแควร์
ความเชื่อมั่นใช้วิธีทดสอบซ้ำ (test - retest) ระยะเวลาห่างกัน 15 วัน และนำมาทดสอบโดยใช้ ไค- สแควร์
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักเรียนชั้น ม.3 ในโรงเรียนสหศึกษา สังกัดกองมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ จำนวน 367 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือ-
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดลักษณะการตัดสินใจ โดยตอบสนองต่อสิ่งเร้า คือ ภาพ และข้อความ แบ่งเป็น 6 รูปแบบ คือ 1) โจมตีผู้อื่น 2) หลีกเลี่ยงโดยโทษผู้อื่น 3) การปฏิเสธไม่รับรู้โดยโทษผู้อื่น 4) ทำร้ายตัวเอง 5) หลีกเลี่ยงโดยลงโทษตนเอง 6) การปฏิเสธสิ้นเชิง
ตัวอย่างเครื่องมือวัด จะเป็นรูปภาพ 1. ฉันแย่มากเขาน่าจะไล่ฉันออก 2. ฉันไม่ควรทำแบบนั้น 3. แต่มันเป็นความผิดของเขา 4. ฉันคิดไม่ออกเพราะปวดหัว 5. เขาบอกว่าไม่ใช่วันนี้ 6. ฉันอยากให้เขาพูดกับฉันแบบนั้น จะเป็นรูปภาพ 1. ฉันแย่มากเขาน่าจะไล่ฉันออก 2. ฉันไม่ควรทำแบบนั้น 3. แต่มันเป็นความผิดของเขา 4. ฉันคิดไม่ออกเพราะปวดหัว 5. เขาบอกว่าไม่ใช่วันนี้ 6. ฉันอยากให้เขาพูดกับฉันแบบนั้น
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]