รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด436
ชื่อเครื่องมือวัดพฤติกรรมการทำงาน
งานวิจัยอ้างอิงการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความขัดแย้งในบทบาท ความคลุมเครือในบทบาท ลักษณะทางจิตบางประการ กับพฤติกรรมการทำงานของนักวิชาการศึกษาส่วนภูมิภาค. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (วิจัยพฤติกรรมศาสต
ที่เก็บงานวิจัยมศว ประสานมิตร
หมายเลขเรียกหนังสือ158.7 น726ก
คำสำคัญพฤติกรรมการทำงาน, การทำงาน
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด จากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตรวัด 6 ระดับ ตั้งแต่ ปฏิบัติมากที่สุด จนถึง ป
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มที่มีลักษณะคล้ายคลึงกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน
ความยาก วิธีการและพิสัย-
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยหาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม มีค่าเท่ากับ .31 - .66
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับหาความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน และนำมาพิจารณาความคิดเห็น 2 ใน 3 ท่าน เป็นเกณฑ์นำมาปรับปรุง ให้เหมาะสมถูกต้อง
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่า มีค่าเท่ากับ .84
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักวิชาการศึกษาที่ปฏิบัติงานแผนงาน และพัฒนาชนบทในส่วนภูมิภาค ระดับอำเภอ จำนวน 256 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือ-
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดพฤติกรรมการทำงาน : การปฏิบัติงานของนักวิชาการศึกษา ในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายตามบทบาท ภาระหน้าที่ ที่กระทรวงศึกษาธิการได้กำหนดให้ปฏิบัติ ซึ่งได้แก่ การวางแผนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม การจัดทำแผนทุกประเภท การรวบรวมวิเคราะห์ข้อมูล สารสนเทศ การตรวจติดตามประเมินผลการปฏิบัติของหน่วยงานสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ ตลอดจนการจัดกิจกรรมและประสานงานพัฒนาชนบทของกระทรวงศึกษาฯ
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. ข้าพเจ้ามักวางแผนล่วงหน้าในการทำงาน ก่อนลงมือปฏิบัติจริง 2. ข้าพเจ้าจะค้นคว้าหาความรู้เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนการทำงาน 3. ข้าพเจ้าจัดแบ่งเวลาในการทำงานไว้อย่างเหมาะสม 4. ข้าพเจ้ากำหนดปฏิทินการทำงานให้มีความยืดหยุ่นได้ 5. ข้าพเจ้าไม่ค่อยมีเวลาที่จะติดตามผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา ..................... .............. ....................... ....................... .............. .................... ปฏิบัติมากที่สุด ปฏิบัติมาก ปฏิบัติค่อนข้างมาก ปฏิบัติค่อนข้างน้อย ปฏิบัติน้อย ปฏิบัติน้อยที่สุด
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]