รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด431
ชื่อเครื่องมือวัดสุขภาพจิต
งานวิจัยอ้างอิงการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความขัดแย้งในบทบาท ความคลุมเครือในบทบาท ลักษณะทางจิตบางประการ กับพฤติกรรมการทำงานของนักวิชาการศึกษาส่วนภูมิภาค. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (วิจัยพฤติกรรมศาสต
ที่เก็บงานวิจัยมศว ประสานมิตร
หมายเลขเรียกหนังสือ158.7 น726ก
คำสำคัญสุขภาพจิต
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แบบวัดความรู้สึกเกี่ยวกับสภาพการทำงาน ของ จินตนา บิลมาศ (2529)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนแบ่งเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 ประกอบด้วยมาตร 6 หน่วย ตั
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน
ความยาก วิธีการและพิสัย-
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยหาความสัมพันธ์ระหว่างคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม มีค่าระหว่าง .47 - .76
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับไม่ระบุ
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า มีค่าเท่ากับ .93
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักวิชาการที่ปฏิบัติงานแผนงาน และพัฒนาชนบท ในส่วนภูมิภาค ระดับอำเภอ จำนวน 256 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือ-
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดสุขภาพจิต : สภาพอารมณ์ จิตใจ และสภาพการปรับตัวของผู้ตอบ โดยแบ่งเป็น 1. ความรู้สึกเกี่ยวกับสภาพการทำงาน ที่เบี่ยงเบนไปจากปกติ ได้แก่ รำคาญ อารมณ์เสีย กลุ้มใจ ความเครียด วิตกกังวล หงุดหงิด หมดกำลังใจ ลำบากใจ 2. ความถี่ของการเกิดความรู้สึกเช่นนั้น
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. ข้าพเจ้าจะอารมณ์เสียมากที่ต้องทำงานร่วมกับเพื่อนร่วมงานที่ไม่มีความรับผิดชอบ ........... ..... ............... .................. ......... .............. จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลย ในปัจจุบัน เหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นกับข้าพเจ้า ............. ............. ............. ................ เกิดเสมอ เกิดบ่อย เกิดน้อย ไม่เกิดเลย 2. ข้าพเจ้ารู้สึกหมดกำลังใจในการทำงาน เมื่อมีการเล่นพรรคเล่นพวกกัน ............ ..... ................ .................... ......... ............... จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลย ในปัจจุบัน เหตุการณ์เช่นนี้เกิดขึ้นกับข้าพเจ้า ............. ............ ............ ............... เกิดเสมอ เกิดบ่อย เกิดน้อย ไม่เกิดเลย
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]