รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด425
ชื่อเครื่องมือวัดแบบวัดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
งานวิจัยอ้างอิง ปัจจัยด้านบุคคลและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาล ของพยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (วิจัยพฤติกร
ที่เก็บงานวิจัยมศว ประสานมิตร
หมายเลขเรียกหนังสือ610.7361 ย157ป
คำสำคัญแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์
ที่มาของเครื่องมือวัด แปลและปรับปรุงมาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด งานวิจัยของ บุญรับ ศักดิ์มณี (2532)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตรวัด 6 ระดับ ตั้งแต่ จริงที่สุด จนถึง ไม่จริงเ
คุณภาพของเครื่องมือวัดพยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลผู้ป่วยหนักที่ไม่ได้รับการคัดเลือกเป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 71 คน
ความยาก วิธีการและพิสัย-
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ โดยหาคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจาก ผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างพยาบาบวิชาชีพที่ทำหน้าที่ให้การพยาบาลผู้ป่วยโดยตรงในหออภิบาลผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพฯ แผนกอายุรกรรม และแผนกศัลยกรรม จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น จำนวน 377 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือ4 สัปดาห์ ตั้งแต่ 20 ตุลาคม ถึง 14 พฤศจิกายน 2540
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดปริมาณความเพียรพยายามของพยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลผู้ป่วยหนักที่จะพัฒนาตนเองและงานของตนให้สำเร็จ รู้จักกำหนดเป้าหมายในการทำงาน อดทนทำงานที่ยากได้เป็นเวลานาน และแสวงหาความรู้ใหม่มาแก้ปัญหาการทำงาน อยู่เสมอ ตลอดจนชอบเลือกเพื่อนร่วมงานที่มีความสามารถเป็นอันดับแรก
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. ฉันคิดว่าการเตรียมตัวอย่างเต็มที่ เพื่อที่จะทำงานในหออภิบาลผู้ป่วยหนักนั้นเป็นสิ่งจำเป็น 2. เมื่อฉันยังทำงานในหออภิบาลผู้ป่วยหนักไม่สำเร็จ ฉันก็พยายามทำงานนั้นอีกจนกว่าจะเสร็จ 3. ฉันอยากอยู่อย่างสบายๆ โดยไม่ต้องทำงานใดๆ ในหออภิบาลผู้ป่วยหนักเลย 4. เมื่อฉันพบว่างานในหออภิบาลผู้ป่วยหนักที่กำลังทำอยู่นั้นยาก ฉันมักจะให้ผู้อื่นทำแทน 5. เมื่อฉันทำงานในหออภิบาลผู้ป่วยหนัก ฉันจะทุ่มเทความพยายามให้กับงาน ............ ...... ................ ..................... .......... ................ จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงที่สุด
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]