รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด424
ชื่อเครื่องมือวัดแบบวัดบุคลิกภาพที่เข้มแข็ง
งานวิจัยอ้างอิง ปัจจัยด้านบุคคลและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาล ของพยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (วิจัยพฤติกร
ที่เก็บงานวิจัยมศว ประสานมิตร
หมายเลขเรียกหนังสือ610.7361 ย157ป
คำสำคัญบุคลิกภาพเข้มแข็ง, บุคลิกภาพ
ที่มาของเครื่องมือวัด แปลและปรับปรุงมาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แบบวัดความเข้มแข็งของเชริล (1994:1378)
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตรวัด 6 ระดับ คือ ตั้งแต่ จริงที่สุด จนถึง ไม่จร
คุณภาพของเครื่องมือวัดพยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลผู้ป่วยหนักที่ไม่ได้รับการคัดเลือกเป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 71 คน
ความยาก วิธีการและพิสัย-
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ โดยหาคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน
ความเชื่อมั่นหาค่าความเชื่อมั่นสัมประสิทธิ์แอลฟ่า
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างพยาบาลวิชาชีพที่ทำหน้าที่ให้การพยาบาลผู้ป่วยโดยตรงในหออภิบาลผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพฯ แผนกอายุรกรรม และแผนกศัลยกรรม จากการสุ่มแบบแบ่งชั้น จำนวน 377 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือ4 สัปดาห์ ตั้งแต่ 20 ตุลาตม ถึง 14 พฤศจิกายน 2540
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดมีลักษณะที่เข้มแข็ง คือ มีความมุ่งมั่น หมายถึง ยึดมั่นในการเห็นคุณค่า ความสำคัญของสิ่งที่ตนกระทำ มีความท้าทาย หมายถึง การมองสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นว่าเป็นความเปลี่ยนแปลงที่ตื่นเต้น และท้าทาย มีการควบคุม หมายถึง ความเชื่อว่าตนเองสามารถจะควบคุมหรือมีอิทธิพลต่อเหตุการณ์ได้
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. ไม่ว่าฉันจะพยายามมากแค่ไหนก็ตาม ความพยายามของฉันก็จะไม่ประสบผลสำเร็จ 2. บุคคลผู้ซึ่งเปลี่ยนใจยาก เป็นคนที่น่าจะเชื่อได้ว่า มีการตัดสินใจที่น่าเชื่อถือ 3. ฉันจะทำงานหนักหรือไม่ก็ไม่สำคัญหรอก เพราะมีแต่หัวหน้าเท่านั้นที่จะได้รับผลประโยชน์ 4. เวลาคิดว่าตัวเองเป็นอิสระ กลับทำให้ฉันรู้สึกสับสนและไม่มีความสุข 5. เมื่อฉันทำอะไรผิด ฉันสามารถแก้ไขให้ดีขึ้นได้เพียงเล็กน้อยเท่านั้น ........... ...... ................ ................... ......... ................ จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงที่สุด
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]