รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด423
ชื่อเครื่องมือวัดแบบวัดการรับรู้บทบาท
งานวิจัยอ้างอิง ปัจจัยด้านบุคคลและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาล ของพยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (วิจัยพฤติกร
ที่เก็บงานวิจัยมศว ประสานมิตร
หมายเลขเรียกหนังสือ610.7361 ย157ป
คำสำคัญการรับรู้, บทบาท
ที่มาของเครื่องมือวัด แปลและปรับปรุงมาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด แบบวัดของโรเจอร์และโมลนาร์ และสะอาด วงศ์อนันต์นนท์
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตรวัด 6 ระดับ คือ ตั้งแต่ จริงที่สุด จนถึงไม่จร
คุณภาพของเครื่องมือวัดพยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลผู้ป่วยหนักที่ไม่ได้รับการคัดเลือกเป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 71 คน
ความยาก วิธีการและพิสัย-
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ โดยหาคะแนนรายข้อกบคะแนนรวม
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน
ความเชื่อมั่นหาค่าความเชื่อมั่นจากค่า สัมประสิทธิ์แอลฟ่า
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างพยาบาลวิชาชีพที่ทำหน้าที่ให้การพยาบาลผู้ป่วยโดยตรงในหออภิบาลผู้ป่วยหนัก ในโรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพฯ แผนกอายุรกรรม และแผนกศัลยกรรม จำนวน 377 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือ4 สัปดาห์ ตั้งแต่ 20 ตุลาตม ถึง 14 พฤศจิกายน 2540
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดความขัดแย้งในบทบาท หมายถึง การที่พยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลผู้ป่วยหนักมีความคิดเห็นที่รู้สึกว่าไม่สอดคล้องกันระหว่าง บทบาทหน้าที่ของตนเองกับบทบาทหน้าที่ที่จะต้องปฏิบัติตามความคาดหมายของตนเองและเพื่อนร่วมงาน ตลอดจนหัวหน้าหอผู้ป่วย ความคลุมเครือในบทบาท หมายถึง การที่พยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลผู้ป่วยหนักขาดความเข้าใจอย่างแจ่มชัดในบทบาท และความรับผิดชอบในหน้าที่ของตนเอง และไม่ทราบวิธีการทำงานให้สำเร็จตามเป้าหมายได้
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. ฉันทำงานภายใต้นโยบายและแนวปฏิบัติที่ไม่ไปด้วยกัน 2. ฉันได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติงานโดยขาดกำลังคนที่เพียงพอที่จะช่วยให้ทำงานเสร็จ 3. ฉันต้องเลี่ยงกฎเกณฑ์หรือนโยบาย เพื่อที่จะทำงานให้ได้ตามที่ได้รับมอบหมายมา 4. ฉันได้รับปริมาณงานที่กำลังพอเหมาะ 5. ฉันได้รับข้อเรียกร้องที่ไม่ไปด้วยกันจากบุคคล 2 คน หรือมากกว่า ........... ...... ................. ................... ......... ............... จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงที่สุด
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]