รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด42
ชื่อเครื่องมือวัดแบบวัดการปฏิบัติการพยาบาล
งานวิจัยอ้างอิง ปัจจัยด้านบุคคลและสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาล ของพยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพมหานคร. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (วิจัยพฤติกร
ที่เก็บงานวิจัยมศว ประสานมิตร
หมายเลขเรียกหนังสือ610.7361 ย157ป
คำสำคัญการปฏิบัติ, การพยาบาล
ที่มาของเครื่องมือวัด สร้างเอง
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด และใช้แบบวัดของ จงรัก อิฐรัตน์ เป็นแนวในการสร้าง
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตรวัด 6 อันดับ คือ ตั้งแต่ ปฏิบัติทุกครั้ง จนถึ
คุณภาพของเครื่องมือวัดพยาบาลวิชาชีพในหออภิบาลผู้ป่วยหนักที่ไม่ได้รับการคัดเลือกเป็นกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 71 คน
ความยาก วิธีการและพิสัย-
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ โดยหาคะแนนรายข้อกับคะแนนรวม
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหาจากผู้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน
ความเชื่อมั่นหาค่าความเชื่อมั่นจากค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่า
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างพยาบาลวิชาชีพที่ทำหน้าที่ให้การพยาบาลผู้ป่วยโดยตรงในหออภิบาลผู้ป่วยหนักในโรงพยาบาลของรัฐ เขตกรุงเทพฯ แผนกอายุรกรรม และแผนกศัลยกรรม จำนวน 377 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือ4 สัปดาห์ ตั้งแต่ 20 ตุลาคม ถึง 14 พฤศจิกายน 2540
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดการพยาบาล หมายถึง การกระทำกิจกรรมการพยาบาล ประกอบด้วย การกระทำ การพูด หรือท่าทีที่พยาบาลในหออภิบาล ผู้ป่วยหนัก ปฏิบัติโดยตรงต่อผู้ป่วยที่ครอบคลุมทั้งด้าน ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ ครอบครัว และครอบครัว
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. ฉันดูแลให้ทางเดินหายใจของผู้ป่วยหนักไม่มีการอุดตันและหายใจได้สะดวก ทุกครั้งที่เข้าไปตรวจสัญญาณชีพและ/หรือให้การ พยาบาลและ/หรือผู้ป่วยมีอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงทางเดินหายใจอุดตัน 2. ฉันดูแลให้ผู้ป่วยหนักได้รับสารอาหารและน้ำ ตามสภาพของการเจ็บป่วยและตามแผนการรักษาทุกเวร 3. ฉันระมัดระวังการเปิดเผยร่างกายผู้ป่วยหนักในขณะให้การพยาบาลแม้ว่าผู้ป่วยจะไม่รู้สึกตัวก็ตาม 4. ฉันสังเกตและติดตามการเปลี่ยนแปลงคลื่นไฟฟ้าหัวใจในผู้ป่วยหนัก อย่างน้อย 1 ชั่วโมง และ/หรือทุกครั้งที่ผู้ป่วย มีการเปลี่ยนแปลง ................... .............. .......................... ........................ ...................... ......................... ปฏิบัติทุกครั้ง ปฏิบัติบ่อย ปฏิบัติค่อนข้างบ่อย ปฏิบัติไม่ค่อยบ่อย ปฏิบัตินานๆ ครั้ง ไม่เคยปฏิบัติเลย
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]