รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด400
ชื่อเครื่องมือวัดแบบวัดความเชื่อเกี่ยวกับพฤติกรรมและการประเมืนผลกรร
งานวิจัยอ้างอิงปัจจัยเชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมวางแผนการสอนของข้าราชการครู โรงเรียนมัธยมศึกษา กรมสามัญศึกษา จังหวัดอุบลราฃธานี. ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) กรุงเ
ที่เก็บงานวิจัยมศว ประสานมิตร
หมายเลขเรียกหนังสือ371.102 ป287ป
คำสำคัญความเชื่อ , พฤติกรรม , การประเมินผลกรรม , กรรม
ที่มาของเครื่องมือวัด 0
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด ไม่ระบุ
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนจากข้อ 5.1 นำมาใช้มาตรประเมินค่า 7 ระดับ ระแนนอยู่
คุณภาพของเครื่องมือวัดกลุ่มที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 100 คน
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ระบุ
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยไม่มีการหาค่าอำนาจจำแนกเนื่องจากคำถามแต่ละข้อคำถามสร้างจากความเชื่อเด่นชัดของกลุ่มตัวอย่างตามทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนที่สำรวจก่อนสร้างแบบวัดข้อคำถามจึงควรมีจำนวนตามความเชื่อเด่นฃัดของกลุ่มตัวอย่าง
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับให้ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 ท่าน พิจารณา ข้อคำถามของแบบวัดว่าตรงตามเนื้อหา ทฤษฎีหรือไม่ แล้วนำมาปรับปรุง แก้ไขข้อคำถามที่พบว่ามีค่าดัชนีความสอดคล้องกับนิยามปฏิบัติการต่ำ
ความเชื่อมั่นนำไปทดลองใช้กับกลุ่มที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง 100 คน แล้วนำมาหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา ตามวิธีของ ครอนบาค
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างข้าราชการครูสังกัดกรมสามัญศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ที่สอนในภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2540 จ. อุบลราชธานี จำนวน 305 คน จากโรงเรียนมัธยมศึกษาในกลุ่มที่ 4 และ 6 จำนวน 15 โรงเรียน โดยการสุ่มแบบกลุ่ม
เวลาในการใช้เครื่องมือระหว่างเดือน กันยายน ถึงเดือน พฤศจิกายน ปีการศึกษา 2540
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดเนื่อจากเจตคติต่อพฤติกรรมมีสาเหตุจากความเชื่อของบุคคลว่าโอกาสที่พฤติกรรมที่จะก่อให้เกิดผลกรรมตามที่คาดหวังมากน้อย ประกอบกับผลกรรมที่เกิดมีประโยนช์มากน้อย สามารถจัดโดยการรวมของผลคูณของความเชื่อเกี่ยวกับพฤติกรรม และการประเมินผลกรรม แบบวัดนี้แบ่งออกเป็น 2 ส่วน 5.1 หาน้ำหนักความเชื่อของครูที่มีต่อการกระทำพฤติกรรมและผลของกรรม 5.2 การรับรู้คุณค่าผลกรรมที่เกิดขึ้นาากการจัดแผนการสอน
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. การจัดทำแผนการสอนขึ้นเพื่อนำไปใช้สอนในแต่ละคาบของสัปดาห์หน้า ทำให้ฉันมั่นใจในการสอน จริง :______:______:_______:_______:_______:_______:_______: ไม่จริง 2. ความมั่นใจในการสอน เป็นสิ่งที่... สำคัญ :_____:_____:_____:_____:_____:_____:_____: ไม่สำคัญ 3. การจัดทำแผนการสอนเป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อนำไปใช้สอนในแต่ละคาบของสัปดาห์หน้า ทำให้ฉันได้เตรียมสื่อการสอนล่วงหน้า เป็นไปได้ :_____:_____:_____:_____:_____:_____:_____: เป็นไปไม่ได้ 4. การเตรียมสื่อการสอนล่วงหน้า เป็นสิ่งที่... สำคัญ :_____:_____:_____:_____:_____:_____:_____: ไม่สำคัญ 5. การจัดแผนการสอนเป็นลายลักษณ์อักษของฉัน เพื่อนำไปใช้สอนในแต่ละคาบของสัปดาห์หน้า ทำให้นักเรียนของฉันเข้าใจบทเรียนยิ่งขึ้น เป็นไปได้ :_____:______:______:______:______:______:_____: เป็นไปไม่ได้
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]