รายละเอียดเครื่องมือวัด
รหัสเครื่องมือวัด389
ชื่อเครื่องมือวัดแบบวัดการอบรมเลี้ยงดูแบบรักสนับสนุน
งานวิจัยอ้างอิงลักษณะทางศาสนาและพฤติกรรมศาสตร์ ของเยาวชนไทย จากชุมชนแผ่นดินธรรมแผ่นดินทองในภาคใต้ . ปริญญานิพนธ์ วท.ม. (วิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) กรุงเทพฯ : มศว.
ที่เก็บงานวิจัยหอสมุดกลางมศว. ชั้น4
หมายเลขเรียกหนังสือ153.8 ว 266 ล
คำสำคัญการอบรมเลี้ยงดูแบบรักสนับสนุน, รักสนับสนุน
ที่มาของเครื่องมือวัด พัฒนามาจาก
รายละเอียดที่มาของเครื่องมือวัด ดวงเดือน พันธุมนาวิน และคนอื่น ๆ .2536.
จุดประสงค์ในการสร้างเครื่องมือวัดเพื่อใช้ในงานวิจัย
รูปแบบการตรวจและการให้คะแนนRating Scale
รายละเอียดรูปแบบการตรวจและการให้คะแนนมาตรวัดประเมินค่า 6 ระดับ จากจริงที่สุด - ไม่จริง
คุณภาพของเครื่องมือวัดใช้กับกลุ่มทดลองที่มีลักษณะคล้ายคลึงกับกลุ่มตัวอย่าง แต่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง
ความยาก วิธีการและพิสัยไม่ได้ทำการวิเคราะห์
อำนาจจำแนก วิธีการ และพิสัยหาค่า T - test ที่ 27% คะแนนอยู่ระหว่าง 4.97 - 9.01
ความเที่ยงตรง วิธีการ ดัชนีทั้งฉบับตรวจ Content Validity โดย กรรมการควบคุมปริญญานิพนธ์
ความเชื่อมั่นหาค่าสัมประสิทธิ์ แอลฟ่า เท่ากับ 0.87
กลุ่มเป้าหมายและกลุ่มตัวอย่างนักเรียนที่นับถือศาสนาพุทธ ซึ่งกำลังเรียนอยู่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่อาศัยในชุมชนแผ่นดินธรรมแผ่นดินทอง จ. นครศรีธรรมราช ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2535 จำนวน 401 คน
เวลาในการใช้เครื่องมือไม่ได้ระบุในปริญญานิพนธ์
จุดประสงค์ของเครื่องมือวัดหมายถึง การรายงานของผู้ตอบรับว่าได้รับการปฏิบัติจากมารดา (หรือผู้อบรมเลี้ยงดู) ในลักษณะแสดงความรักใคร่ ชื่นชม ยอมรับ ให้ความสนิทสนมเป็นกันเองกับผู้ตอบ และให้ผู้ตอบมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน สอบถามทุกข์สุขให้คำปรึกษา ช่วยเหลือหรือแก้ไขปัญหา
ตัวอย่างเครื่องมือวัด1. แม่แสดงให้ฉันรู้ว่าท่านรักฉันมาก 2.แม่ไม่เคยสนใจทุกข์สุขของฉัน 3.แม่แสดงให้ฉันรู้ว่า ท่านภูมิใจมากที่มีลูกอย่างฉัน 4.แม่ไม่ชอบที่จะให้ฉันปรึกษา หรือขอคำแนะนำจากท่าน 5.แม่สามารถช่วยให้ฉันหายกลุ้มใจและคลายทุกข์ได้ 6. แม่ยอมรับความคิดเห็นของฉัน 7.แม่ทำตัวห่างเหินจากฉัน 8. ถัาแม่อยู่บ้าน จะทำให้ฉันหายเหงา และไม่ว้าเหว่ 9. แม่เป็นที่ปรึกษาที่ดีของฉัน 10.แม่อบรมสั่งสอนเพื่อต้องการให้ฉันเป็นคนดี ______ ______ ______ ______ ______ ______ จริงที่สุด จริง ค่อนข้างจริง ค่อนข้างไม่จริง ไม่จริง ไม่จริงเลย
[กลับหน้าค้นหางานวิจัย] [ กลับหน้าค้นหาเครื่องมือวัด] [ Back]